โรคติดเชื้อ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    บาดทะยัก บาททะยัก เป็นโรคอันตรายร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้เป็นครั้งคราวในคนที่มีบาดแผลตามร่างกายแล้วขาดดารดูแลอย่างถูกต้อง เมื่อเกิดบาดแผลหากรู้จักดูแลรักษาแต่เนิ่นๆ และมีการฉีดยาป้องกันตามจำเป็น ก็มักจะปลอดภัยจากการถูกโรคนี้เล่นงานได้ชื่อภาษาไทย บาดทะยักชื่อภาษาอังกฤษ Tetanusสาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อบาดทะยัก ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “คลอสตริเดียมเตตานิ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    ภัยเงียบ! จากโรคตับอักเสบไวรัสซีเชื้อไวรัสที่ทำให้ตับอักเสบมีอยู่มากชนิด แต่ที่วงการแพทย์ค้นพบและมีชื่อเรียกแน่นอนแล้ว ก็คือ ไวรัสตับอักเสบชนิดเอ บี ซี ดี จี อี ทีที และเซนไวรัส และทั้งหมดนี้ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในบ้านเรา ได้แก่ ไวรัสชนิดเอ บี และซี แต่ที่ทำให้เกิดตับอักเสบเรื้อรัง และทำลายเซลล์ตับจนเป็นโรคตับแข็งหรือโรคมะเร็งตับ ได้แก่ ไวรัสชนิดบีและซี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ยาลดน้ำมูกในเด็กภก.วิรัตน์ ทองรอดถาม เมื่อเด็กเป็นน้ำมูก ควรใช้ยาลดน้ำมูกในเด็กอย่างไรอาการน้ำมูกไหล คัดจมูก และจาม หรือที่ชาวบ้าน เรียกว่า หวัด พบได้บ่อยในเด็ก เกิดจาก2 สาเหตุใหญ่ คือ กลุ่มโรคไข้หวัด และกลุ่มโรคภูมิแพ้ในโพรงจมูกกลุ่มโรคไข้หวัด ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส มักมีอาการไข้ ตัวร้อน ปวดหัว ร่วมกับอาการหวัด คือ อาการน้ำมูกไหล คัดจมูก และจาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    ไข้หวัด (ใหญ่) นก ๒๐๐๔ไข้หวัดนก หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า Bird flu หรือภาษาวิทยาศาสตร์ว่า Avian flu คำว่า flu ย่อมาจาก influenza หมายถึง โรคไข้หวัดใหญ่ คำว่า avian หมายถึงสิ่งที่บินหรือเหิรฟ้าได้ดังเช่นนก ถ้าส่งจดหมายไปรษณีย์อากาศ เราจะเขียนภาษาอังกฤษว่า By airmail หรือฝรั่งเศสว่า Par avian ไข้หวัดใหญ่ เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    อีสุกอีใสในช่วงก่อนและหลังสอบไล่ปลายปี (มกราคมถึงเมษายน) มักจะมีการระบาดของ "ไข้-ออกผื่น" ได้แก่ หัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส สำหรับอีสุกอีใสเนื่องจากยังมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้กันน้อยมาก เพราะยังไม่ได้จัดเป็นวัคซีนพื้นฐาน (ซึ่งได้แก่ หัด หัดเยอรมัน ไอกรน คอตีบ บาดทะยัก โปลิโอ วัณโรค ตับอักเสบจากไวรัสบี ไข้สมองอักเสบ) ดังนั้นจึงมักยังพบมีการระบาดของโรคนี้ตามโรงเรียน สถาบันการศึกษา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 290 มิถุนายน 2546
    ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับโรคซาร์ส๑.เชื้อไวรัสซาร์ส มีการกลายพันธุ์ได้เร็ว ปัจจุบันพบว่ามีอย่างน้อย ๑๙ สายพันธุ์ เชื้อที่กลายพันธุ์อาจมีการก่ออันตรายรุนแรงขึ้น หรืออาจอ่อนตัวลง แต่สามารถอยู่ในคนเราได้ยาวนาน โดยก่อให้เกิดอาการรุนแรงน้อยลงก็ได้๒.ระยะฟักตัว (นับแต่เริ่มติดเชื้อจนมีอาการเจ็บป่วย) การศึกษาในฮ่องกง พบว่ามีระยะฟักตัว ๒-๑๖ วัน (เฉลี่ย ๖ วัน) องค์การอนามัยโลกกำหนดระยะฟักตัว ๒-๗ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 289 พฤษภาคม 2546
    ซาร์ส-ปอดบวมมรณะ น่ากลัวจริงหรือ?เมื่อกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา โรงพยาบาลบำราศนราดูร ได้รับผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคซาร์ส หรือปอดบวมมรณะไว้รักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยรายนี้เป็นแพทย์ ชาวอิตาลี วัย ๔๖ ปี ชื่อนายแพทย์คาร์โล เออร์บานี ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดต่อแห่งองค์การอนามัยโลก และเป็นคนแรกที่ชี้ว่าโลกกำลังเผชิญกับโรคระบาดชนิดใหม่ เขาเดินทางไปที่ฮานอย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2546
    ถาม : ชัยเจริญ/ระยอง ผมอายุ ๑๔ ปี น้ำหนัก ๕๐ กิโลกรัม สูง ๑๖๐ เซนติเมตร กำลังเรียนอยู่ชั้น ม. ๓ ปัญหาของผมคือ ผมต้องตัด ผมสั้นทรงนักเรียน แต่ผมเป็นชันนะตุที่ศีรษะ ทั้งๆที่ผมก็สระผมทุกวัน (เพื่อนมักจะล้อผมว่า "ไอ้หัวเน่า") ทำให้ผมรู้สึกกลุ้มใจและขาดความมั่นใจมาก จึงอยากจะขอเรียนถามคุณหมอว่า- โรคชันนะตุเกิดขึ้นได้อย่างไร- สามารถรักษาให้หายรักษา ได้ไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 283 ธันวาคม 2545
    พงษ์/กรุงเทพฯ : ผู้ถามผมมีปัญหาจะเรียนถามคุณหมอเกี่ยวกับโรคไวรัสตับอักเสบชนิดบีครับ คือ ผมไปบริจาคเลือดที่โรงพยาบาล ผลเลือดบอกว่าผมมีเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี เมื่อปีก่อนผมก็บริจาคเลือด แต่ไม่พบเชื้อดังกล่าว แล้วอยู่ดีๆ ผมได้รับเชื้อนี้มาได้อย่างไร เพราะพ่อแม่ผมก็ไม่มีเชื้อนี้ ผมเองก็ไม่เคยรับเลือด จากใครหรือมีเพศสัมพันธ์กับใคร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 278 มิถุนายน 2545
    มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยวรรณา/จันทบุรี : ผู้ถามดิฉันและสามีมีเพศสัมพันธ์โดย ไม่ใช้ถุงยางอนามัย หลังจากมีเพศสัมพันธ์แล้วประมาณ ๑ สัปดาห์ รู้สึกผิดปกติก็เลยไปตรวจปัสสาวะหาเชื้อกามโรคที่โรงพยาบาลจังหวัด แต่ก็ไม่พบเชื้อ ต่อมาอีก ๓ วัน ดิฉัน ก็ไปตรวจที่โรงพยาบาลอำเภอก็ไม่พบเชื้ออะไรอีกต่อมาอีกประมาณ ๑ เดือนเศษ ก็รู้สึกเจ็บ ร้อน แสบ คัน มีหนอง และที่อวัยวะเพศมีสีแดงเข้ม ดิฉัน ...