-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
39
กรกฎาคม 2525
กุ้งยิง ฝี พุพอง “คอลัมน์นี้จะช่วยให้ผู้อ่านรู้จักอาการและโรคต่าง ๆ รวมทั้งวิธีตรวจร่างกายด้วยตนเอง ซึ่งจะนำมาเสนอเป็นประจำทุกฉบับ” คุณผู้อ่านครับ ภาพทางขวามือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
ไข้รูห์มาติคโรคข้ออักเสบในเด็ก ชื่อนี้คงคุ้นหูคุ้นตาคุณผู้อ่านที่ติดตาม “หมอชาวบ้าน” มาตั้งแต่แรก เพราะทุกครั้งที่กล่าวถึงโรคต่อมทอนซิลอักเสบ (ไข้เจ็บคอ) หรือโรคลิ้นหัวใจพิการ เรามักจะพูดถึง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
อัมพาตจากหลอดเลือดสมองพิการอัมพาต หมายถึง การเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไม่ได้ กระดุกกระดิกไม่ได้ การที่เรายกแขนยกขาได้นั้นเพราะมีกล้ามเนื้อดึง การเคลื่อนไหวทุกชนิดเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อโครงกระดูกเปล่า ๆ จะเคลื่อนไหวเองไม่ได้ฉะนั้นพวกเรื่องผี ๆ ที่มีแต่โครงกระดูกเดินเก้งก้างหรือที่หัวกะโหลกมันอ้าปากหงับ ๆ ได้เอง โดยไม่มีกล้ามเนื้อดังนั้น เป็นเรื่องหลอก ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
หวัด“ย่างเข้าเดือนหกฝนก็ตกพรำ ๆ ....” (แต่เดี๋ยวนี้ชักจะไม่แน่เสียแล้ว)เสียงเพลงลูกทุ่งที่เราได้ฟังถี่ขึ้นในระยะนี้ ทำให้นึกถึงชาวไร่ชาวนา คงจะดีใจที่จะได้เริ่มไถเริ่มหว่านทำมาหากินเสียที แต่สำหรับคนในเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนกรุงเทพฯ อาจจะกลุ้มใจเพราะไปไหนมาไหนไม่สะดวก เพราะถนนมีน้ำเจิ่งนอง ในระยะต้นฤดูฝนเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงของอากาศ มักจะทำให้คนเป็นหวัดกันมาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
การตรวจร่างกาย ตอนที่ 32 ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
37
พฤษภาคม 2525
โรคไต มาทำความเข้าใจกับโรคไตไตของเรานั้นมี 2 ข้าง อยู่ในระดับเอวของร่างกาย ในไตแต่ละข้างจะมีหน่วยทำงานเป็นหน่วยเล็ก ๆ ข้างละประมาณ 1 ล้านหน่วย หน่วยทำงานประกอบด้วยเครื่องกรองกับท่อไตเล็ก ๆ ซึ่งจะไปรวมกันเป็นท่อใหญ่แล้วลงมาที่ท่อไต แล้วก็ผ่านลงมาที่กระเพาะปัสสาวะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
37
พฤษภาคม 2525
การตรวจร่างกาย ตอนที่ 31“ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
37
พฤษภาคม 2525
โรคผิวหนังที่พบบ่อย(ตอนที่ 3 ) ลมพิษพบได้ทุกเพศทุกวัย มีลักษณะขึ้นเป็นปื้นนูนสีซีด ขอบแดง มีอาการคันมาก พอเกาตรงไหน ก็จะมีผื่นแดงขึ้นตรงนั้น มีขนาดและรูปร่างต่าง ๆกัน เช่น เป็นวงกลม วงรี วงหยัก บางครั้งดูเหมือนแผนที่ มักเป็นอยู่ 3-4 ชั่วโมง แล้วหายไปเอง แต่จะขึ้นใหม่ได้บ่อย ๆโรคนี้มีสาเหตุมาจาการแพ้เช่น แพ้อาหารทะเล แพ้ยา แพ้ความเย็น แพ้ฝุ่น แพ้อากาศ เป็นต้นการรักษาให้กินยาแก้แพ้ – ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
36
เมษายน 2525
ในกระบวนโรคหรือความไม่สบายทางกายต่างๆ ที่เกิดแก่คนเรานี้ โรคหรืออาการท้องผูกมาเป็นที่หนึ่ง ประเทศไทยสั่งยามาจากต่างประเทศปีละ 120 ตัน นับว่ามากกว่าการใช้ยาหลายชนิดทีเดียว คนโดยมากได้รับการบอกเล่ามาหรือเชื่อกันมาอย่างผิดๆ เกี่ยวกับเรื่องท้องผูก ตอนนี้ได้เวลาที่จะทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้กระจ่างเสียทีก่อนอื่นเราต้องเข้าใจกันเสียก่อนว่า ลำไส้ใหญ่ซึ่งเป็นที่พักของกากอาหาร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
36
เมษายน 2525
การตรวจตามระบบการตรวจทรวงอก(ต่อ)นอกจากการดูขนาดและรูปร่างของทรวงอกแล้ว การตรวจทรวงอกด้วยการดู ยังต้องดู2. การเคลื่อนไหวตามการหายใจ : เมื่อเราหายใจเข้า กล้ามเนื้อกะบังลมจะหดตัวดึงกระดูกซี่โครงจะหดตัวดึงกระดูกซี่โครงให้ยกขึ้นและบานออก ทำให้ช่องอก (โพรงอก) ขยายใหญ่ขึ้น ปอดจึงขยายตัวออก ดูดลมผ่านจมูกหรือปาก เข้าสู่หลอดลม และปอดตามลำดับ (ดูรูปที่ 1 ก.) ...