-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
36
เมษายน 2525
บ่อยครั้งที่แพทย์ตรวจพบนิ่วในถุงน้ำดีโดยบังเอิญในผู้ที่ไม่มีอาการ ปัญหาคือจะทำอย่างไรดีนายแพทย์ เกรซี และ แรนโซฮอฟฟ์ จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเคส เวสเทอร์น รีเสอร์ฟ ในคลีฟแลนด์ สหรัฐอเมริกา ให้ความเห็นว่าปล่อยทั้งไว้เฉยๆ จะดีกว่าคนที่เป็นนิ่วในถุงน้ำดีไม่ได้มีอาการทุกคนไป และไม่จำเป็นต้องทำการรักษาเสียทุกราย แต่ถ้าทิ้งไว้จะมีอันตรายบ่อยเพียงใด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
36
เมษายน 2525
ทั้งกลากและเกลื้อน เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื่อรา แต่มีลักษณะอาการแตกต่างกันกลาก (รูปที่ 1)จะมีลักษณะเป็นวงแดงเห็นขอบนูนชัดเจน รอบๆ มักมีตุ่มใสเล็กๆ เรียงเป็นวง ตรงกลางจะเป็นขุยขาวๆ แห้งๆ มีลักษณะเป็นรูปโค้งหรือวงเดือน ชาวบ้านจึงเรียกว่า “กลากวงเดือน”มักขึ้นตามใบหน้า ลำตัว หลัง แขนขา มือ ซอกเท้าถ้าเป็นในบริเวณร่มผ้า ขาหนีบ หรืออัณฑะ ชาวบ้านเรียกว่าสังคังถ้าขึ้นที่ศีรษะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
35
มีนาคม 2525
เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2524 สำนักข่าวเอพีได้รายงานข่าวเกี่ยวกับเด็กชายแอฟริกาใต้ ชื่อ ฟรานซีเกอริงเกอร์ อายุ 8 ปี ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้เขาแก้เกินอายุเรียกว่าโรคโพรเจอเรีย (progeria) เมื่อข่าวนี้เผยแพร่ออกไปทั่วโลกก็ได้ก่อให้เกิดความสนใจเกี่ยวกับโรคโพรเจอเรียอย่างมากฟรานซีเป็นเด็กที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา ขี้เล่น หัวเราะเก่ง ชอบวิ่งเล่นและปืนป่ายต้นไม้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
35
มีนาคม 2525
|การตรวจตามระบบ (ต่อ)การตรวจทรวงอกทรวงอก คือ ส่วนของลำตัวตั้งแต่คอลงมาจนถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง ดังนั้น ทรวงอกจึงเป็นส่วนที่แข็ง (คลำแล้วแข็ง) โดยรอบทั้งแต่บนลงล่าง (หัวไหล่ลงไปถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง) และโดยรอบตั้งแต่ข้างหน้าอ้อมไปใต้รักแร้ไปจนถึงด้านหลัง เพราะมีกระดูกซี่โครงล้อมรอบกระดูกกลางหน้าอก (sternum) ทางด้านหน้าไปจนถึงกระดูกสันหลัง (spine) ทางด้านหลัง (ดูรูปที่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
35
มีนาคม 2525
โรคผิวหนังที่พบบ่อยในหมู่ชาวบ้านๆ เรา ก็มีหิด เหา กลากเกลื้อน ลมพิษ ผื่นคัน พุพอง ชันนะตุเรียนหมอจากภาพ ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป จะได้กล่าวถึงโรคเหล่านี้ เพื่อให้คุณผู้อ่านสามารถนำไปปฏิบัติการดูแลรักษากันเองได้เลยครับฉบับนี้เราเริ่มเรื่อง หิด ดีไหมครับคุณผู้อ่านถ้าพบเด็กๆ หรือผู้ใหญ่ ที่มีตุ่มคันที่ง่ามนิ้วมือนิ้วเท้า (รูปที่ 1) ขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 ข้าง ก็น่าจะนึกถึงโรคนี้ได้เลยหิด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
34
กุมภาพันธ์ 2525
การตรวจตามระบบการตรวจคอ (ต่อ)ในการตรวจลำคอ นอกจากจะตรวจภาวะคอแข็ง คออ่อน คอเล็ก คอโต คอเป็นก้อนจากฝีจากต่อมน้ำเหลือง จากต่อมน้ำลาย จากต่อมคอพอก หรือจากก้อนอื่นๆ ซึ่งไม่พบในคนปกติแล้ว การตรวจลำคอยังรวมถึงการตรวจ5.ลักษณะของผิวหนัง : ผิวหนังบริเวณลำคอก็เช่นเดียวกับผิวหนังในบริเวณอื่น อาจจะเกิดเป็นโรคผิวหนังต่างๆ ได้ ที่พบบ่อย เช่น5.1 ผดผื่นคัน ซึ่งถ้า แคะ แกะ เกา ถู ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
33
มกราคม 2525
การตรวจตามระบบ (ต่อ)การตรวจคอการตรวจคอ ในฉบับนี้ หมายถึง การตรวจลำคอ (คอด้านนอก) ซึ่งผิดกับการตรวจคอด้านใน ที่ได้กล่าวไว้ในฉบับก่อนเกี่ยวกับการตรวจภายในปากการตรวจคอ ฉบับนี้ จึงเป็นการตรวจตั้งแต่คอต่อ (ส่วนของคอที่ต่อกับท้ายทอย) ลงไปจนถึงต้นคอหรือโคนคอ (ส่วนของคอที่ติดอยู่กับไหล่)คอของคนเรานี้มีลักษณะต่างๆ กัน บางคนคอยคอยาวระหง บางคนคอสั้น บางคนคอเล็ก บางคนคอใหญ่ (คออ้วน)ต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
33
มกราคม 2525
ต้อกระจกโรคที่เกิดกับตาหลายชนิดชาวบ้านเรานิยมเรียกว่า ต้อ หรือ ตาเป็นต้อ เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ต้อเนื้อ ต้อลำไย ต้อที่มีชื่อแปลกๆ เหล่านี้ ต่างมีสาเหตุ อาการ และความรุนแรงที่แตกต่างกันฉบับนี้เรามาคุยกันถึงโรคต้อกระจก กันดีไหมครับ⇒ ต้อกระจก หมายถึง แก้วตาหรือเลนส์ตา (Lens) ที่ขุ่นขาวผิดไปจากปกติ ที่มีลักษณะใสเหมือนกระจกใสแก้วตามีหน้าที่ในการหักเหแสง เพื่อให้ภาพที่คนเรามองนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
32
ธันวาคม 2524
เดือนนี้ผมขอพาท่านไปที่อุทยานน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และตำบลวังกลด จังหวัดพิจิตรก่อนผมได้ไปจังหวัดพิจิตร ระหว่างทางได้แวะเข้าไปที่อุทยานน้ำหนาว อุทยานนี้สวยมาก เป็นความงามตามธรรมชาติ เมื่อเข้าไปจะเห็นว่าป่าไม้เขียวชอุ่ม บริเวณกว้างขวางมาก มีทางเดินเล็กๆ สามารถเดินไปทั่วอุทยาน บางแห่งก็มีลำธารเล็กๆ ไหลริน ช่วยเสริมบรรยากาศให้รื่นรมย์ยิ่งขึ้น อากาศก็บริสุทธิ์ปราศจากมลภาวะและเย็นตลอดปี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
32
ธันวาคม 2524
การตรวจตามระบบการตรวจปาก (ต่อ)6.คอด้านใน : การตรวจคอด้านใน จะทำได้โดยให้คนไข้อ้าปาก ให้แสงสว่างส่องเข้าไปถึงคอด้านใน ถ้าเป็นแสงแดดจะทำให้เห็นได้ชัดกว่าแสงไฟฉายในบางคน เพียงแต่อ้าปาก ก็จะเห็นคอด้านในได้ แต่ในบางคนอาจจะต้องใช้ไม้กดลิ้นหรือด้ามช้อน กดลิ้นลงจึงจะเห็นลิ้นด้านในได้การกดลิ้น ควรจะค่อยๆ กดลงตรงกลางลิ้นเพื่อให้ลิ้นแบนราบลง อย่ากดแบบกระแทกลงทันที ...