วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    สุนัขกัดบ้านเราเป็นเมืองพุทธ จึงปรากฏว่าทุกวันนี้มีสุนัขแล้วแมวทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของเป็นส่วนมาก และยังมีประชาชนอีกจำนวนไม่น้อยที่ทราบว่า แมวก็เป็นโรค “พิษสุนัขบ้า”โรคพิษสุนัขบ้า เรือเรียกง่ายๆว่า โรคหมาบ้านั้น ความจริงแล้วยังมีสัตว์ที่เป็นโรคเดียวกันได้อีก คือ กระรอก กระแต และค้างคาว สำหรับกระรอกและกระแตมีผู้นิยมเลี้ยงกันมากขึ้น เนื่องจากมีความน่ารัก เลี้ยงง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    โรคภูมิแพ้ทางผิวหนังหลังจากที่คุณได้รู้จักกับ “โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ” ในฉบับก่อนไปแล้วนั้น คงจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ กระจ่างมากขึ้นกว่าเดิมนะคะและสำหรับคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะพูดถึง “โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง” ต่อเนื่องกันไปให้ครบถ้วนสุภาพสตรีคนหนึ่งลองซื้อเครื่องสำอางยี่ห้อใหม่มาใช้ ได้ฟังโฆษณากรอกหูอยู่ทุกวันว่า ใช้แล้วจะทำให้หน้าตาผิวพรรณผุดผ่อง มองดูอ่อนกว่าวัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)คนไข้เจ็บอกที่มีอาการเจ็บหนักหรือฉุกเฉิน เมื่อได้รับการปฐมพยาบาลและการรักษาขั้นต้นจนอาการดีขึ้นพอที่จะเคลื่อนย้ายคนไข้ไปที่โรงพยาบาลแล้ว ควรจะรีบส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลสำหรับคนไข้ที่มีอาการเจ็บ ปวด แสบ แน่น หรืออื่นๆ ที่บริเวณอก แต่ไม่มีอาการเจ็บหนัก หรือฉุกเฉิน อาจจะให้การตรวจรักษาเป็นขั้นตอน ตามแผนภูมิที่ 1 คือให้ถามคนไข้ว่า อาการเจ็บอกนั้น กดเจ็บไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)ในฉบับที่แล้วเราได้กล่าวถึงอาการเจ็บอก การตรวจรักษาคนไข้เป็นขั้นเป็นตอน และอาการเจ็บหัวใจไม่คงที่ ในฉบับนี้จะได้กล่าวถึงอาการเจ็บหัวใจจากหัวใจขาดเลือด (angina pectoris)อาการเจ็บหัวใจจากหัวใจขาดเลือด (angina pectoris) ส่วนใหญ่จะวินิจฉัยได้จากอาการ (ประวัติของอาการ) ที่พบว่าอาการเจ็บอกนั้นมีลักษณะดังนี้1. ตำแหน่งที่เจ็บ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    ลิ้นเป็นรอยขาวถ้าท่านพบว่า มีรอยแผลสีขาวๆในช่องปาก เช่นที่ลิ้น กระพุ้งแก้ม เพดานปาก เป็นต้น ทายาหรือกินยาแล้วก็ไม่หาย และเป็นอยู่นานกว่า 3 สัปดาห์ขึ้นไป ก็พึงตระหนักได้ว่า มันไม่ใช่แผลธรรมดาๆเสียแล้วละรอยสีขาวดังในภาพนี้ ภาษาหมอเรียกว่า ลิวโคพลาเกีย (Leukoplakia) ซึ่งอาจกลายเป็นมะเร็งได้อาการนี้อาจพบในคนที่ชอบเคี้ยวหมาก จุกยาฉุน สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า หรือคนที่ใส่ฟันปลอมหลวมๆ (ไม่กระชับ) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การดูแลเด็กออกผื่น“เด็กออกผื่น” หมายถึง เด็กที่ป่วยเป็นไข้และมีผื่นขึ้น ซึ่งมีอยู่หลายโรคด้วยกัน เช่น ส่าไข้ อีสุกอีใส หัด หัดเยอรมัน และไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งผื่นของโรคที่กล่าวมาแต่ละอย่างมีลักษณะแตกต่างกันในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการดูแลเด็กออกผื่นของอีสุกอีใสและหัดเท่านั้น เนื่องจากผื่นที่ปรากฏมีระยะเวลาที่เป็นอยู่นานวัน และยังมีความสัมพันธ์กับการเบื่ออาหารและเจ็บคอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก รูปที่ 1 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    พรายย้ำ จ้ำเขียวคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เข้ามาเกี่ยวข้องกับเรื่องผีๆเสียแล้วครับในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเขาอธิบายศัพท์ พราย หมายถึง “ผีจำพวกหนึ่ง” (มักกล่าวกันว่าเป็นผีผู้หญิงและเด็กที่ตายท้องกลม)และอธิบาย พรายย้ำ ว่าหมายถึง รอยดำๆ คล้ายถูกอะไรกัดเป็นรอยช้ำ ปรากฏตามร่างกายเป็นแห่งๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บปวดอย่างไร โบราณถือว่าถูกผีพรายกัดย้ำเอา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    ฝีของทอนซิลคนที่มีอาการไข้และเจ็บคอมากอยู่หลายวัน ถ้าอ้าปากตรวจดูในคอ พบลักษณะดังในภาพ คือ ต่อมทอนซิลข้างซ้าย(ตรงลูกศรชี้) บวมเป็นก้อน ดันลิ้นไก่เบี้ยวไปอีกทางหนึ่งลักษณะเช่นนี้ไม่ใช่ต่อมทอนซิลอักเสบธรรมดา แต่เป็นฝีของทอนซิล (Peritonsillar abscess หรือ Quinsy) ถือเป็นภาวะแทรกซ้อนของต่อมทอนซิลอักเสบคนไข้มักจะรู้สึกเจ็บคอมาก และปวดร้าวไปที่หูและขากรรไกร อาจเจ็บจนรู้สึกกลืนลำบาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    ระยะฟักตัว“อาการตุ่มใสๆขึ้นตามตัวพร้อมกับมีไข้แบบนี้ หมอตรวจดูแล้ว มั่นใจว่าเป็นอีสุกอีใสแน่” หมอให้คำวินิจฉัยพร้อมกับถามคนไข้ว่า “ระยะนี้ได้อยู่ใกล้กับคนที่เป็นอีสุกอีใสหรือเปล่า?”“เปล่าครับ!” คนไข้ตอบอย่างฉับพลัน“หมอไม่ได้หมายความว่า ในระยะ 2-3 วันนี้เท่านั้นหรอกนะ เอาเป็นว่า ระยะ 2-3 อาทิตย์ที่ผ่านมาก็แล้วกัน” ...