บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๘๓หญิงไทยม่ายอายุ ๖๐ ปี มีอาการท้องโตขึ้นและแข็งทางซีกขวามาหลายเดือน มีอาการอ่อนเพลียและเท้าบวมเป็นครั้งคราว ร่วมกับอาการปวดเข่า และเข่าขวาบวม เป็นๆ หายๆ มาหลายปีผู้ป่วยเป็นคนยากจน แต่อดทนและขยันขันแข็งทำมาหาเลี้ยงชีพมาตั้งแต่เด็ก และอาศัยอยู่ในชุมชน (แออัด) แห่งหนึ่ง จึงอาศัยการซื้อยาจากร้านยาข้างบ้านกินบรรเทาอาการต่างๆ เรื่อยมา เพราะไม่อยากไปโรงพยาบาล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    สิวและฝ้าจัดเป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยมาก ปัจจุบันมีแนวโน้มในการนำสมุนไพรมาใช้หรือใช้ร่วมเพื่อรักษาโรคสิวและโรคฝ้ามากขึ้น ดังนี้สิว ได้มีการใช้สารแทนนิน (tannins) ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดรสฝาดในพืชบางชนิด สกัดจากเปลือกต้นไม้ เช่น โอ๊กและฝาง มาใช้ทารักษาสิวเพราะมีคุณสมบัติสมานผิว (astringent properties) ที่ใช้บ่อยคือวิตช์ฮาเซล (witch hazel) กรดผลไม้ (fruit acids) เช่น กรดซิตริก (citric) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    โครงการนี้เกิดจากแนวคิดที่ต้องการสร้างโอกาสให้ผู้ติดเชื้อเอดส์กับผู้ที่ไม่ติดเชื้อร่วมกันประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว และทำให้ผู้ติดเชื้อเอดส์อยู่ในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจจุดเริ่มต้นโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวคิดในการดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์อย่างเป็นองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชนทุกภาคส่วน เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอดส์เป็นที่พึ่งของตนเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    กินผักใบเขียวลดโอกาสเป็นเบาหวาน(Fruit and vegetable intake and incidence of type 2 diabetes mellitus: systematic review and meta-analysis Carter P.BMJ 2010; 341 : c4229.)เราทราบกันดีว่า การกินผัก ผลไม้มาก (ประมาณ ๕ ฝ่ามือต่อวัน) ช่วยลดโอกาสเป็นมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด เมื่อ ๓-๔ ปีก่อน มีการรวบรวมการศึกษาว่าการกินผักผลไม้ช่วยลดโอกาสเป็นเบาหวานหรือไม่ ผลปรากฏว่า การกินผัก ผลไม้มากกว่า ๓ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    “กลางดึกคืนหนึ่ง รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหมือนหัวใจจะหยุดเต้น รีบคว้ายามากิน ยาไปกระตุ้นหัวใจให้เกิดการทำงานใหม่ ทำให้รอดตายมาได้”คุณไพศาล วิชชากรธัญศิริ อายุ ๗๐ ปี เล่าถึงประสบการณ์เฉียดตาย ขณะที่มีอายุ ๕๐ กว่าๆ ด้วยความที่เป็นโรคหัวใจโต และหลอดเลือดหัวใจตีบ ทำให้สุขภาพร่างกายอ่อนแอ ต้องพกยาไว้ใกล้ตัวตลอด จนกระทั่งมีเพื่อนแนะนำให้ออกกำลังกายด้วยการขี่จักรยาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 386 มกราคม 2554
    ถาม : สุวิทย์/ขอนแก่นการสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรครำมะนาดจริงหรือครับ?ตอบ : ทพญ.สุธาสินี ฉันท์เรืองวณิชย์การสูบบุหรี่เป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากโดยตรงคือ ทำให้เกิดโรคปริทันต์อักเสบ หรือ "โรครำมะนาด" เนื่องจากสารพิษจำพวกนิโคตินในบุหรี่จะทำให้หลอดเลือดฝอยหดตัว เลือดไปเลี้ยงผิวหนังรวมทั้งริมฝีปากน้อยลง ทำให้ผู้ที่สูบบุหรี่มีริมฝีปากคล้ำกว่าคนทั่วไปที่ไม่สูบบุหรี่ และมีผลเสียต่อตัวฟัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 386 มกราคม 2554
    ถาม : กรกนก/อยุธยาตรวจเจอโลหิตจางค่ะหมอบอกว่าสาเหตุเพราะขาดธาตุเหล็ก ไม่ทราบว่าโรคนี้มีลักษณะอย่างไรค่ะตอบ : นพ.ชัยเจริญ ตันธเนศภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมักพบในเด็กเล็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ธาตุเหล็กนั้นถือเป็นธาตุที่สำคัญต่อการทำงานของร่างกายส่วนใหญ่ธาตุเหล็กจะอยู่ในเม็ดเลือดแดง ซึ่่งจะทำหน้าที่ช่วยจับออกซิเจนและส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ดังนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 386 มกราคม 2554
    ถาม : อภิวัฒ/นครปฐมผมมีอาการปวดหลังและปวดท้อง บางครั้งหน้ามืดหมดสติอยากทราบว่าเป็นอาการของโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองหรือไม่ครับ ถ้าเป็นมีวิธีรักษาอย่างไรบ้างตอบ : นพ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ และอาจพบในผู้ที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมหลายระบบ เช่น กลุ่มอาการ Marfan ซึ่งมักมีความผิดปกติหลอดเลือดตั้งแต่วัยหนุ่มสาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 386 มกราคม 2554
    ถาม : ชวลิต/นครพนม ผมต้องการทราบว่าตัวเองอยู่ในเกณฑ์อ้วนหรือไม่อ้วนและควรจะมีน้ำหนักตัวอย่างไรจึงจะเหมาะสม สังเกตจากอะไรบ้าง ตอบ : นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ การสังเกตุว่าตัวเอง คนใกล้ชิดอ้วน มีน้ำหนักเกิน หรือน้ำหนักเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมกับร่างกายนั้นมีวิธีดังนี้ ๑.การวัดเส้นรอบเอว ผู้ชาย เส้นรอบเอวไม่เกิน ๓๖ นิ้ว (๙๐ เซนติเมตร) ถ้ามากกว่า ๓๖ นิ้วถือว่าอ้วนลงพุง ผู้หญิง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2554
    ตั้งชื่อเรื่องไว้เช่นนี้ถือว่าค่อนข้างแรงสำหรับคนทั่วไป แต่สำหรับผู้ที่เคยรู้จักผู้เขียนหรือเคยอ่านหนังสือ “หมอปากหมา” ซึ่งเป็นหนังสือที่เขียนถึงความจริงในด้านต่างๆ ของวงการแพทย์ จะเข้าใจผู้เขียนมากขึ้นว่าต้องการจะสื่อถึงความมีสติในการใช้ยาทั้งแพทย์และผู้ป่วย เป็นแนวคิดในมุมมองของผู้เขียนที่สะท้อนภาพความแตกต่างโดยเน้นหลักการใช้ยาเท่าที่จำเป็นจริงๆกล่าวให้เข้าใจง่ายๆ คือ ...