อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    ถาม : ภัทริดา/กรุงเทพฯขอถามปัญหาเรื่องนมและไข่ดังนี้1. นมที่มีส่วนผสม DHA และ ARA แต่มีราคาสูงกว่าสูตรธรรมดา มีประโยชน์อย่างไรต่อร่างกายของเด็ก ถ้ากินสูตรที่ไม่มี DHA และ ARA แล้วร่างกายจะเป็นอย่างไร ร่างกายสามารถได้รับจากอาหารอื่นอีกหรือไม่2. ลูกชายอายุ 4 ขวบ ไม่ชอบกินตับเลยให้ลูกกินไข่แดงแทนโดยให้กินสัปดาห์ละ 4-5 ครั้ง ถ้าเป็นไข่ต้มหรือไข่ดาวจะไม่ให้ไข่ขาวเลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    อาหารไทย ถือว่ามีลักษณะโดดเด่นเป็นพิเศษ เนื่องจากประเทศไทยเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ มีอาหารตามธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษตามภูมิอากาศ และภูมิประเทศที่หลากหลายตลอดทั้งปี จึงมีวัตถุดิบที่หลากหลายใช้ในการประกอบอาหารไทย รวมทั้งคนไทยมีศิลปะอยู่ในสายเลือด รูปลักษณ์ของอาหารจึงน่ากิน อาหารไทย อาหารสุขภาพนอกจากความอร่อยแล้วอาหารไทยยังถือว่าเป็นอาหารสุขภาพ ส่วนประกอบต่างๆ ล้วนแต่มีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งสิ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    มีเพลงพื้นบ้านที่ใช้กล่อมเด็กๆ พูดถึงมะเขือเปราะดังนี้"จ้ำจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่น พายเรืออกแอ่น กระแท่นต้นกุ่ม สาวๆ หนุ่มๆ อาบน้ำท่าไหน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    ผู้เขียนขอแนะนำอาหารอร่อยของคนโบราณ ซึ่งปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีคนรู้จักเครื่องปรุงของแกงฉู่ฉี่ ที่จริงก็แบบเดียวกับแกงคั่วหรือแกงเผ็ดทั่วไป ส่วนผสมของเครื่องแกงสมัยก่อนจะโขลกมะพร้าวขูดปนไปกับเครื่องแกงเพื่อทำให้น้ำแกงข้น ตามแบบฉบับของแกงฉู่ฉี่ แต่ในปัจจุบัน เราจะแนะนำอาหารเพื่อสุขภาพจึงไม่ใช้มะพร้าว ใช้เป็นกะทิธัญพืชแทน การปรุงรสอาหารไทยโบราณใช้น้ำตาลปี๊บ รสชาติจะกลมกล่อม หอม ไม่ใช้น้ำตาลทราย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เด็กไทยเกิดปีละ 8 แสนคนต่อปี มีเพียงร้อยละ 20 ที่เลี้ยงดูด้วยนมแม่ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 เดือน นอกนั้นเลี้ยงด้วยนมวัวประมาณ 6 แสนคน ในจำนวนนี้จะมีอาการแพ้ร้อยละ 3 หรือประมาณ 2 หมื่นคนต่อปี จากสถิติที่กล่าวมา โรคแพ้โปรตีนนมวัวในเด็กมีแนวโน้มสูงมากขึ้น และกำลังเป็นปัญหาสาธารณสุขของทุกประเทศ โดยแพทย์มักเปลี่ยนเป็นนมถั่ว หรือสูตรนมชนิดพิเศษที่มีการย่อยโปรตีนในนมเหล่านั้นโรคแพ้โปรตีนนมวัวในเด็ก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    ถั่วพูเป็นพืชเขตร้อน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบประเทศ เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ อินเดีย พม่า ไทย ลาว ปาปัวนิวกินี และฟิลิปปินส์ ปัจจุบันปลูกได้ในมลรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เมนูอาหารจานนี้เป็นอาหารที่ชวนกินอีกหนึ่งเมนู เป็นอาหารประเภทหอย หอยมีทั้งหอยน้ำจืดและหอยน้ำเค็ม หอยน้ำจืด เช่น หอยขม หอยโข่ง หอยน้ำเค็ม เช่น หอยแมลงภู่ หอยแครง หอยนางรม หอยลายหอยมักมีสิ่งสกปรกอยู่มาก การเลือกซื้อให้เลือกหอยที่หุบปากแน่น เมื่อวางไว้จะอ้าและหุบอย่างรวดเร็ว เมื่อเอามือไปแตะ ไม่มีกลิ่นเหม็น หอยที่แกะเปลือกแล้วต้องมีสีสดใส น้ำที่แช่ไม่มีเมือกและกลิ่นเหม็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    ฟักเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ Benincasa hispida (Thunb.) Cogn. หรือ wax gourd เป็นพืชตระกูลแตง Cucurbitaceae ตามท้องถิ่นฟักเขียวจะมีชื่อเรียกกันต่างๆ ภาคกลางเรียก "ฟัก ฟักขาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    หน่อไม้ฝรั่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า แอสพารากัส (Asparagus) เป็นพืชพื้นเมืองแถบยุโรปและแอฟริกา แหล่งที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทยจะอยู่แถว ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี ชลบุรี และนนทบุรีหน่อไม้ฝรั่งเป็นพืชที่เราใช้หน่ออ่อนมาทำเป็นอาหาร โดยจะเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุ 10 เดือนขึ้นไป จะมี 2 ชนิดคือ หน่อขาวและหน่อเขียวหน่อขาว จะเก็บหน่อที่โผล่พ้นดินขึ้นมาประมาณ 1 เซนติเมตร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 348 เมษายน 2551
    ป้องกันไว้...ชีวิตปลอดภัย จากอันตราย!... โรคอาหารเป็นพิษโรคอาหารเป็นพิษ จะยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญของประเทศไทยต่อไปในอนาคตที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัย เพราะทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่จากการถ่ายอุจจาระ บางรายที่เป็นมากอาจจะหมดสติถึงตายได้ เนื่องมาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่นิยม รับประทานอาหารปรุงไม่สุก หรือพืชที่เก็บตามธรรมชาติ ได้แก่ เห็ด ซึ่งอาจเป็นเห็ดพิษ ...