การทำสมาธิ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    ปราณยามะ 5เราได้อธิบายเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับลมหายใจกันมาหลายฉบับแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกลไกการหายใจอัตโนมัติ การทำความรู้จักกับการหายใจด้วยทรวงอก (ใช้กล้ามเนื้อซี่โครงหายใจ) การหายใจด้วยหน้าท้อง (ใช้กล้ามเนื้อกะบังลมหายใจ) คราวนี้เรามาเข้าเรื่องปราณยามะกันเสียที ปราณ หมายถึง ลมหายใจ ยามะ หมายถึง การควบคุมดังนั้น ปราณยามะ หมายถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงามธนนท์ ศุขสุขภาพ ไม่สามารถซื้อหาได้ แต่จะต้องปฏิบัติด้วยตัวเองเพราะสุขภาพเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของแต่ละบุคคล คน100 คนก็มีวิถีชีวิต100 รูปแบบที่แตกต่างกัน ทว่ารูปแบบหรือหลักแห่งการดำเนินชีวิตของบุคคลอื่นนั้น บางสิ่งบางอย่างสามารถถ่ายทอด แนะนำให้เพื่อนพ้องน้องพี่สามารถนำไปปรับใช้ และเกิดผลในทางที่ดีขึ้นต่อสุขภาพ ด้วยข้อจำกัดของเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    สวนปฏิบัติธรรมทุ่งไผ่การพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ มีประโยชน์ยิ่ง จิตที่เข้าถึงธรรมนอกจากให้ความสุขอันประณีต แล้วยังทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายเพิ่มขึ้น ป้องกันการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง เป็นอะไรก็หายง่าย การเข้าถึงธรรมจึงทำให้มีสุขภาวะและอายุยืน ฉะนั้น การปฏิบัติธรรมด้วยการเจริญกรรมฐานจึงควรเป็นวิถีชีวิต ทุกคนควรจะฝึกและเจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญาเป็นประจำ ในต่างประเทศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ปราณยามะ (3) การควบคุมหายใจการหายใจด้วยทรวงอก คือ รูปแบบของการควบคุมลมหายใจ โดยมุ่งเน้นไปที่กล้ามเนื้อซี่โครง มุ่งเน้นไปที่การหายใจเข้าวิธีฝึก1.จัดเวลาสำหรับฝึกเป็นการเฉพาะ เช่น ช่วงเช้า หลังจากฝึกเทคนิคอาสนะ ช่วงบ่ายหลังอาหาร หรือช่วงเวลาก่อนนอน เป็นต้น2.นั่งในท่าอาสนะเพื่อสมาธิ ท่าไหนก็ได้ที่เราถนัด นั่งให้นิ่ง นั่งให้สงบ เฝ้าดูลมหายใจของเราไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 290 มิถุนายน 2546
    ปราณยามะ (๒) สรีรวิทยาของการหายใจผู้ที่ได้ทำการบ้านมา ๑ เดือนแล้วก็จะเริ่ม "รู้จัก" ลมหายใจของตนเอง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้ (ใครยังไม่ได้ทำ ให้ลองทำ ณ ขณะนี้เลย) ระบบหายใจของมนุษย์ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ หมายความว่า ในหลายๆ ห้วงขณะที่เราไม่ได้ใส่ใจอยู่กับการหายใจ เช่น ตอนหลับ ตอนที่เราทำอะไรเพลินๆ จนไม่ได้คิดถึงลมหายใจก็สามารถทำงานได้ด้วยตัวของมันเองในทำนองเดียวกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 280 สิงหาคม 2545
    โยคะสำหรับโรคทั่วๆ ไป : ปวดหลัง (ต่อ)การเสริมสร้างสุขภาพจิตคราวที่แล้ว เราได้อธิบายถึงความเชื่อมโยงระหว่างกาย ลมหายใจ และจิต คราวนี้เรามาพิจารณาในรายละเอียดของจิตอีกแง่หนึ่ง ในเรื่องของอารมณ์ ซึ่งมีผลต่อการดูแลอาการปวดหลังด้วยเช่นกันบางครั้งเรามักจะเผลอมองโลกในแง่ลบ ด้วยความ โกรธ ความขุ่นเคือง ความเกลียด ความน้อยเนื้อต่ำใจความเคียดแค้น อันส่งผลต่อการกระทำ ส่งผลต่อชีวิตของเรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 279 กรกฎาคม 2545
    โยคะสำหรับโรคทั่วๆ ไป : ปวดหลัง (ต่อ)"เรา" เป็นผลจากการประกอบกันเข้าของกาย ลมหายใจ จิต หากองค์ประกอบทั้ง ๓ ส่วนนี้ทำงานไปได้ตามหน้าที่ของมัน ทำงานไปได้ตามปกติ "เรา" ก็เป็น ปกติ ร่างกาย ลมหายใจ และจิตนั้น มีความสัมพันธ์กัน อย่างแยกไม่ออก เมื่อส่วนหนึ่งเกิดปัญหา ย่อมกระทบกับส่วนที่เหลือ และในทำนองกลับกัน หากส่วนหนึ่งมีความสมบูรณ์มาก ก็สามารถไปช่วยแก้ปัญหาให้ส่วนที่ เหลือได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    โรคนับร้อยมีที่มาจากอารมณ์“คุณหมอคะ เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูจะปวดแน่นเต้านมและชายโครง บางทีคลำได้ก้อน แต่พอหมดประจำเดือน ก้อนที่เต้านมก็หายไปค่ะ หนูจะเป็นมะเร็งหรือเปล่าคะ”“เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูมักปวดหัวข้างเดียว แต่บางครั้งเวลาเครียดก็เป็นค่ะ หนูเป็นโรคไมเกรนหรือเปล่าคะ”“เวลามีประจำเดือน รู้สึกอยากกินของเปรี้ยว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    แม่ พลังแห่งความรักคนที่รักแม่มากๆ เป็นคนเลวไม่ได้เพราะไม่มีความรักใดๆ ในโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าความรักของแม่ที่มีต่อลูก ในยามที่โลกแล้งรัก เพราะความอักเสบที่เกิดจากวัตถุนิยม บริโภคนิยมที่เกินเลย จิตใจมนุษย์ก็จะระส่ำระส่าย เพราะธรรมชาติของจิตใจมนุษย์ขาดความรักไม่ได้ ถ้าไม่รักใครและไม่มีใครรัก มนุษย์จะกลายเป็นคนเจ็บป่วย เมื่อเจ็บป่วยแล้วหันไปรักษาด้วยวิธีผิดๆ เช่น ยาเสพติด ยาบ้า ยาอี มั่วทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    เจาะลึก แพทย์แผนไทยกับพุทธศาสนา“ก่อนอื่นผู้เขียนต้องขอเรียนท่านผู้อ่านให้ทราบว่า การแพทย์แผนไทยมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแยกไม่ออก หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนาก็ว่าได้ ผู้เขียนจึงจำเป็นต้องนำเสนอระบบการแพทย์แผนไทยตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งรูปแบบอาจยากสักหน่อยสำหรับคนรุ่นใหม่ แต่ไม่ยากสำหรับความเข้าใจ”พุทธพจน์บ่งชี้ว่า “อาหารเป็นพาหะนำโรค ...