นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
218
เดือน/ปี:
มิถุนายน 2540
สมาธิ พิชิตความปวดคุณอรทัย ชัยฐานียชาติ เคยป่วยเป็นมะเร็งเต้านม และได้รับการผ่าตัดแล้วเธอเป็นผู้ที่แพ้ยาทุกชนิดในการผ่าตัด เธอจึงเจ็บปวดจากแผลผ่าตัดมาก แต่เธอใช้วิธีทำสมาธิเพื่อระงับความปวด และได้ผลอาการปวดลดลง ตามที่ “หมอชาวบ้าน” เคยสัมภาษณ์เรื่องราวของเธอลงในคอลัมน์เปลี่ยนชีวิต ฉบับ ๒๑๕ มีนาคม ๒๕๔๐ แล้วนั้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
217
เดือน/ปี:
พฤษภาคม 2540
วิ่งสู่สภาวะนิรันดร์ 7 (ต่อ) เอาจิตไว้ที่ไหนขณะวิ่งผมวิ่งมาเป็นเวลาช้านานจึงมีประสบการณ์ทั้งทางกายและทางจิต เรื่องทางกายได้เล่าไปบ้างแล้วในตอนก่อน เรามีทั้งกายและจิต คำถามก็คือ ขณะวิ่งเอาจิตไว้ที่ไหน เราอาจวางจิตไว้ได้ต่างๆ กัน แล้วแต่สภาพและความต้องการ ดังต่อไปนี้ในภูมิประเทศที่อาจมีอันตรายมีสติเฉพาะหน้าหากวิ่งในภูมิประเทศที่อาจมีอันตราย เช่น จากการตกหลุม ตกบ่อ เหยียบก้อนหิน สุนัข งู รถยนต์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
201
เดือน/ปี:
มกราคม 2539
รู้ตัวอยู่กับการเคลื่อนไหว : ศิลปะแห่งความสุข/ของฝากจากอเมริกา (ตอนที่ 4)ในช่วงเดือนสิงหาคม 2538 ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อร่วมประชุมสัมมนานานาชาติ (3rd World Congress of Medical Acupuncture and Natural Medicine) ซึ่งจัดโดย “มูลนิธิการแพทย์ ธรรมชาติแห่งโลก” (World Natural Medicine Foundation) ที่เมืองเอดมอนตัน ประเทศแคนาดา ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
178
เดือน/ปี:
กุมภาพันธ์ 2537
กายภาพบำบัด : ศาสตร์แห่งการรีไซเคิลมนุษย์บทนำบันทึกประสบการณ์ชุด “ในทุกข์ยังมีสุข” ซึ่งถ่ายทอดโดย นายแพทย์รวินันท์ ศิริกนกวิไล ชุดนี้ เป็นการเสนอวิธีคิดใหม่ๆ ในบางชีวิตที่น่าสนใจให้กับผู้อ่าน โดยเฉพาะท่านผู้อ่านที่รู้สึกว่าตกอยู่ในภาวะที่สิ้นหวัง ล้มเหลวในชีวิตคงจะได้ประโยชน์ในชุดนี้มากทีเดียว การนำเสนอแนวคิดผ่านประสบการณ์ในชุดนี้จะนำเสนอเป็น ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
177
เดือน/ปี:
มกราคม 2537
อุบัติเหตุ ชีวิต และ ความอดทนบันทึกประสบการณ์ชุด “ในทุกข์ยังมีสุข" ซึ่งถ่ายทอดโดย นายแพทย์ รวินันท์ ศิริกนกวิไล ชุดนี้ เป็นการเสนอวิธีคิดใหม่ๆ ในบางแง่มุมของชีวิตที่น่าสนใจให้กับผู้อ่าน โดยเฉพาะท่านผู้อ่านที่รู้สึกว่าตนเองกำลังตกอยู่ในภาวะที่สิ้นหวัง ล้มเหลวในชีวิตคงจะได้ประโยชน์จากข้อเขียนชุดนี้มากทีเดียวการนำเสนอแนวคิดผ่านประสบการณ์ในชุดนี้จะนำเสนอเป็นตอนๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
168
เดือน/ปี:
เมษายน 2536
วิธีสยบความเครียด“เปลี่ยนชีวิต” ผ่านไปด้วยรูปแบบที่หลากหลายบนส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของแต่ละคน จนกระทั่งมีท่านผู้อ่านบ่นเข้ามาว่าทำงานนั่งโต๊ะทั้งวันกำลังวังชาถดถอย ความคล่องตัวลดลง เอ๊ะ หรือที่พูดกันว่า “ไม่ออกกำลังแล้วจะมีกำลังได้อย่าไร ไม่ยืดเส้นยืดสายแล้วจะคล่องแคล่วได้อย่างไร” สงสัยท่าจะจริงเสียแล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
132
เดือน/ปี:
เมษายน 2533
อานุภาพแห่งการเจริญสติช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วย (ตอนจบ)ใน 4 ครั้งก่อนได้ยกตัวอย่างของผู้ป่วย 4 รายที่ได้ใช้การเจริญสติช่วยเหลือ ในครั้งนี้จะกล่าวถึงการบริการปรึกษาการใช้ธรรมปฏิบัติผสมผสานกับเทคนิคการให้บริการปรึกษา : ช่วยผู้มาขอรับความช่วยเหลือผู้ป่วยรายสุดท้ายที่ดิฉันจะกล่าวถึงนั้น เป็นชายอายุ 20 ปี เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง หน้าตาดี ร่างกายแข็งแรง แต่มีปัญหาทางใจ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
131
เดือน/ปี:
มีนาคม 2533
อานุภาพแห่งการเจริญสติ ช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วย (ตอนที่ 4)การเจริญสติช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วยคร้งนี้เป็นรายที่ 4 แล้ว 3 รายที่ผ่านมานั้น แม้ผู้เขียนจะไม่สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็สามารถทำให้ผู้ป่วยมีสติ จิตใจมีความสงบมากขึ้นก่อนจบชีวิตลง ในฉบับนี้ท่านผู้อ่านลองมาติดตามผู้ป่วยด้วยโรคอัมพาตรายนี้ดูว่า การเจริญสติสามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีจิตใจสงบลงได้มากน้อยเพียงใดการสงเคราะห์ผู้ป่วยด้วยธรรมโอสถ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
130
เดือน/ปี:
กุมภาพันธ์ 2533
อานุภาพแห่งการเจริญสติช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วย (ตอนที่ 3)การสงเคราะห์ผู้ป่วยด้วยธรรมโอสถ (รายที่ 3)ผู้ป่วย 2 ท่านแรกที่ดิฉันเล่าให้ฟังในฉบับที่แล้วเป็นสุภาพสตรี ท่านที่ 3 นี้เป็นสุภาพบุรุษ อายุ 39 ปี เป็นทั้งลูกศิษย์และเพื่อนร่วมงานของดิฉัน หลังจากที่จบปริญญาตรี และทำงานที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงหลายปี ก็ไปเรียนต่อที่สหรัฐอเมริกา อยู่ที่นั่น 7 ปี ได้ปริญญาโทและเอก เขาเป็นคนเดียวของครอบครัวที่เรียนสูง ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
129
เดือน/ปี:
มกราคม 2533
อานุภาพแห่งการเจริญสติ : ช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วย (ตอนที่ 2)บุคคลแรกที่ดิฉันจะต้องกล่าวถึงด้วยความเคารพยิ่ง ซึ่งบัดนี้เธอได้เสียชีวิตไปแล้ว ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก เธอเป็นบุคคลแรกที่มีส่วนผลักดันให้ดิฉันมีความกล้าหาญในการใช้วิชาการเจริญสติสอนให้เธอปฏิบัติ แม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้น แต่ก็มีผลทำให้เธอมีจิตใจสงบ เป็นกุศลพ้นจากความทุกข์ได้ในบางขณะระหว่างที่เธอเจ็บป่วยการสงเคราะห์ผู้ป่วยด้วยธรรมโอสถ ...