จิตอาสา/ ฉือจี้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    ‘ธรรมกาย’ เป็นขบวนการจัดตั้ง (organized) ชัดเจน ส่วนสำนักอื่นๆนอกนั้นเกือบทั้งหมดไม่เป็นการจัดตั้ง ต้องเข้าใจประเด็นนี้จึงจะเข้าใจ ‘พฤติกรรม’ ที่แตกต่างกันตลาดสดเป็นตัวอย่างของการไม่มีการจัดตั้ง กองทัพเป็นตัวอย่างของการจัดตั้งอย่างหนักแน่น ที่ตลาดสดใครใคร่ขายอะไรขาย คนซื้อมาจากที่ต่างๆไม่ทราบจากที่ใดบ้าง แต่งตัวต่างๆกัน หญิงชายเด็กหรือทั้งหมดจำนวนเท่าใดไม่ทราบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    การสาธารณสุขในสาธารณรัฐประชาชนจีน (4)ตอนที่แล้วผมได้ให้ภาพไปพอสมควรเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของการสาธารณสุขในสาธารณรัฐประชาชนจีน ในตอนนี้ผมจะกล่าวเพิ่มเติมให้เห็นภาพเท่าที่ได้สังเกตมาในปี พ.ศ. 2492 ก่อนการปฏิวัติ ประเทศจีนมีปัญหาเรื่องอหิวาตกโรคระบาดเป็นอันมาก แต่ในปัจจุบันจีนไม่พบกับปัญหานี้เลย เพราะโรคนี้ได้หายไปจากประเทศจีนแล้ว ที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ เขาบอกว่าพบโรคโปลิโอ (poliomyclitis) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    ตอนที่แล้วได้กล่าวถึงความสำเร็จของ ‘ธรรมกาย’ เรื่องที่ ‘ธรรมกาย’ อาจมีปัญหามากที่สุดคือทิฐิเกี่ยวกับการบรรลุธรรมจุดมุ่งหมายของศาสนาทุกศาสนาคือการบรรลุธรรมการบรรลุธรรมคือสภาวะจิตที่หลุดพ้นจากความร้อยรัดทั้งปวงสำหรับศาสนาที่มีพระผู้เป็นเจ้า การบรรลุธรรมคือการที่จิตของบุคคลไปสู่หรือไปรวมกับพระผู้เป็นเจ้า ดังเช่นในศาสนาฮินดู ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    ในด้านหนึ่งวัดธรรมกายกำลังโด่งดัง ภาพโบสถ์ทรงแปลกสะดุดตา ภาพผู้คนเป็นเรือนหมื่นเรือนแสนที่พากันไปชุมนุมปฏิบัติธรรม แผ่นโป๊สเตอร์อันสวยงามประชาสัมพันธ์เรื่องธรรมทายาทติดอยู่ทั่วไป เป็นเรื่องแปลกใหม่และมีพลัง ในอีกด้านหนึ่งก็มีคำถามและคำวิพากษ์เช่นว่า วัดธรรมกายกำลังทำอะไร ทำไมจึงต้องใช้เงินมากนัก ดูจะดึงดูดคนชั้นกลางเชื้อสายจีน เข้ายึดกุมชมรมพุทธของมหาวิทยาลัยต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    การสาธารณสุขในสาธารณรัฐประชาชนจีน (3)การประชุมเริ่มอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ที่เรามาถึงประเทศจีนการประชุมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมมากันเกือบครบแล้ว ขาดแต่ประเทศอัฟกานิสถานและประเทศเนปาลที่ยังไม่ได้มา การประชุมเริ่มด้วยพิธีการต่างๆที่ปฏิบัติเหมือนกับการประชุมทั่วๆไปคือ มีการกล่าวต้อนรับโดยตัวแทนกระทรวงสาธารณสุข ตัวแทนผู้ว่ามณฑล ตัวแทนองค์การอนามัยโลก ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    ใจเขาใจเราท่านพุทธทาสภิกขุ แห่งสวนโมกขลาราม เขียนไว้ว่า มนุษย์เรานั้นเกิดมาเพื่อเดินทาง การดำเนินชีวิตของคนเรานั้นตามวิสัยของชาวโลกเพื่อได้ “กิน” หรือ การบำรุงความสุขทางกายทั้งหลาย เพื่อ “กาม” หรือการได้รับความรักความอบอุ่นทางใจ และเพื่อ “เกียรติ” หรือความภาคภูมิใจในตนเอง ในการสรรเสริญจากผู้อื่นความต้องการต่างๆ เหล่านี้ส่วนหนึ่งติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ...