จิตอาสา/ ฉือจี้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    การปฏิบัติตามหลัก "ต็อง-เล็น"Ž"ต็อง-เล็น" เป็นวิธีของทิเบต ที่จินตนาการเอาความทุกข์ของผู้อื่นเข้ามาสู่ตัวเอง นอกจากเพื่อเสริมสร้างความกรุณาในจิตใจของตัวเองแล้ว ยังใช้เพื่อลดความทุกข์ของตัวได้ด้วยท่านทะไล ลามะ แสดงปาฐกถาเรื่องนี้ในบ่ายวันที่อากาศร้อนในเมืองทูซอน รัฐแอริโซนา รัฐนี้มีทะเลทรายกว้างขวาง ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนมากจนเกือบเกรียม ในห้องประชุมวันนั้นมีผู้ฟังประมาณ ๑,๖๐๐ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ผมมีโอกาสไปดูงานของมูลนิธิพุทธฉือจี้ที่ไต้หวัน ด้วยความอนุเคราะห์ของศูนย์คุณธรรม ได้ดูได้รู้ได้เห็นเรื่องราวของเขาแล้วมีความประทับใจ จึงขอถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้สู่ท่านผู้อ่านในชื่อเรื่องที่ว่า "จิตอาสา พลังสร้างโลก" รวม ๕ ตอนครับเกริ่นนำเมื่อราวเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ อาจารย์ ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม เล่าให้ผมฟังคร่าวๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    บทที่ ๑๑การหาความหมายในความเจ็บปวดและความทุกข์หมอคัตเลอร์เล่าในหนังสือเล่มนี้ถึงจิตแพทย์ยิวคนหนึ่งที่ถูกนาซีคุมขังในสงครามโลกครั้งที่ ๒ เขาชื่อวิคเตอร์ แฟรงเคิล ผู้กล่าวว่า “มนุษย์พร้อมและเต็มใจที่จะรับความทุกข์ทรมานได้ทุกชนิด ตราบใดที่เขารู้ความหมายของมัน” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    การค้นพบมุมมองใหม่หมอคัตเลอร์เล่าว่าในความพยายามที่จะประยุกต์วิธีของท่านทะไล ลามะ ในการเปลี่ยนมุมมอง “ศัตรู” เขาได้พบเทคนิคอีกอันหนึ่งในบ่ายวันหนึ่ง ในช่วงที่กำลังเขียนหนังสือเล่มนี้ เขาได้เข้าไปฟังการสอนของท่านทะไล ลามะ ทางฝั่งตะวันออก (ของสหรัฐอเมริกา) ขากลับเขาจับเครื่องบินที่ตรงไปเมืองฟินิกซ์เขาจองที่นั่งติดทางเดิน แม้ว่าจะเพิ่งไปฟังการสอนทางจิตวิญญาณมาสดๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    การย้ายมุมมองในกาลครั้งหนึ่ง สานุศิษย์ของนักปรัชญากรีกผู้หนึ่ง ถูกอาจารย์สั่งว่าจงใช้เวลา ๓ ปี ให้เงินแก่คนทุกคนที่พูดจาดูถูกเขา เมื่อครบกำหนดแล้วอาจารย์บอกเขาว่า "คราวนี้ ไปกรุงเอเธนส์ได้แล้วจะไปแสวงหาปัญญา" เมื่อศิษย์ผู้นี้ไปถึงหน้าเมืองเอเธนส์ เขาเห็น ชายผู้ทรงปัญญาคนหนึ่งนั่งอยู่หน้าประตู พูดจาดูถูกผู้คนที่ผ่านเข้าออกประตูเมืองทุกคน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๙)"ถ้าคุณรู้สึกว่าเจ้านายคุณในที่ทำงานทำกับคุณอย่างไม่ยุติธรรม มันอาจจะมีปัจจัยอื่นๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่ว่ามันจะเป็นเพราะคุณเท่านั้น เช่น มีเรื่องอื่นๆ ที่ทำให้ เขาไม่สบายใจ หรือว่าทะเลาะกับภรรยามาเมื่อเช้านี้หรืออื่นๆ พฤติกรรมของเขาอาจจะไม่เกี่ยวกับคุณโดยเฉพาะ แน่นอนว่าคุณก็ต้องเผชิญสถานการณ์ไปอย่างที่มันเป็น แต่อย่างน้อยโดยวิธีนี้ (คือรู้ว่าอาจมีปัจจัยอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๘)"การเข้าใจเรื่องทุกข์มีความสำคัญ" ท่านทะไล ลามะ อธิบาย"เพราะมีทางที่จะเป็นอิสระจากทุกข์ โดยขจัดเหตุแห่งทุกข์ มนุษย์สามารถประสบอิสรภาพได้ สภาวะที่ไม่มีทุกข์ หลักทางพุทธนั้นสาเหตุของทุกข์คือ โลภ โกรธ หลง เป็นยาพิษทางจิตใจทั้งสาม คำว่า โง่ หรืออวิชชาในทางพุทธนั้น มีความหมายจำเพาะ ไม่ได้หมายถึงการขาดข้อความรู้ แต่หมายถึงการเห็นผิดในธรรมชาติของตัวเอง และสรรพสิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๗)คราวที่แล้วเป็นการคุยกันระหว่างท่านทะไล ลามะ กับหมอคัตเลอร์ค้างอยู่ตรงที่คนที่ขาดความรักและโหดร้ายอย่างสตาลิน"มีคนบางคนเริ่มต้นในชีวิตเลย มีชีวิตที่ขาดความรักจากผู้อื่นและไม่มีความสุข หลังจากนั้นเขาไม่มีความรู้สึกเยี่ยงมนุษย์ ไม่สามารถรักคนอื่นได้ กลายเป็นคนหยาบกระด้างและอำมหิต" ท่านทะไล ลามะ พูดแล้วก็หยุดไปนาน ครุ่นคิดอย่างจริงจัง ก้มลงหยิบถ้วยชาดื่ม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    เปิดลายแทงแห่ง "ความสุข"ความลับที่คุณต้องรู้ นิตยสารไทม์ เปิดประเด็นที่พลิกกระแสนิยมในโลกยุคใหม่ได้อย่าง "กลับตาลปัตร"นั่นคือการสืบสาวเรื่องราวว่าด้วย"ความสุข" อย่างเจาะลึกถึงแก่นว่า มีที่มาจากไหนกันแน่ พร้อมกับพยายามพิสูจน์ด้วยผลวิจัยจากทั่วโลกว่า คาถา "มีเงินมากก็สุขมาก" นั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ (๖)ตอนที่แล้วเราคุยกันจากหนังสือ "ศิลปะแห่งความสุข" ของท่านทะไล ลามะ ถึงตอนที่ว่าด้วยความสัมพันธภาพระหว่างมนุษย์ความสัมพันธ์ที่อยู่บนฐานของความเสน่หาและการแต่งงานหมอคัตเลอร์ว่ารู้สึกแปลกมากที่จะคุยเรื่องเพศและการแต่งงานกับคนที่เป็นพระและอายุกว่า ๖๐ ปีแล้ว แต่ท่านทะไล ลามะ ก็ไม่รังเกียจที่จะคุยถึงเรื่องนี้ เขาจึงถามท่านว่า"ในวัฒนธรรมตะวันตก ...