อนามัยสิ่งแวดล้อม

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    ฝุ่นผงหมึกเครื่องถ่ายเอกสาร ถาม : จันทนี/ชลบุรีดิฉันกำลังตั้งครรภ์ ๓ เดือนแต่ต้องนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องถ่ายเอกสารทั้งวัน และในห้องทำงานก็ไม่มีเครื่องดูดอากาศ ฝุ่นผงหมึกจากเครื่องถ่ายเอกสารมีอันตรายอย่างไรบ้าง ตอบ : นพ.ธีระ กลลดาเรืองไกรจากการตรวจดูส่วนผสมของผงหมึกที่ใช้ในการถ่ายเอกสาร พบว่าส่วนใหญ่ประกอบด้วย iron oxide ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ผลข้างเคียงของแชมพูขจัดรังแคถาม : อดิศักดิ์/กรุงเทพฯผมมีปัญหาจะขอเรียนถามคุณหมอเกี่ยวกับเรื่องแชมพูขจัดรังแคดังนี้ครับแชมพูขจัดรังแคออกฤทธิ์ในการขจัดรังแคอย่างไร เมื่อใช้ไปนานๆ จะมีผลข้างเคียงหรือไม่ขอความกรุณาคุณหมอช่วยตอบด้วยนะครับตอบ : นพ.ปริทัศน์ ศุกรีเขตรKetoconazole เป็นยาฆ่าเชื้อราครับ คนที่เป็นรังแค หรือ seborrheic dermatitis พบว่ามีเชื้อราที่เป็นยีสต์ ชื่อ Pityroporon ovale ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    ในสองฉบับที่ผ่านมาผมได้กล่าวถึงแสง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับคอมพิวเตอร์โดยตรง อย่างไรก็ดีมีสภาพแวดล้อมอื่นๆ ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทำงานคอมพิวเตอร์และการทำงานประเภทอื่นๆ อีก เช่น ความร้อน เสียง การถ่ายเทอากาศ ความชื้น ความสั่นสะเทือน ความกดอากาศ เป็นต้น แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเรื่องความร้อน ร่วมไปกับความชื้นและการถ่ายเทอากาศ และจบท้ายด้วยเรื่องของเสียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    กาหลง : มิใช่หลงเฉพาะเพียงกาต้นไม้พื้นบ้านของไทยบางชนิด เป็นที่รู้จักคุ้นเคยในหมู่คนไทยมายาวนานหลายร้อยปีแต่ปัจจุบันกลับรู้จักกันน้อยมากตรงข้ามกับต้นไม้บางชนิดที่มาจากต่างแดน เมื่อไม่นานมานี้เอง แต่กลับเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ต้นไม้บางชนิดพบขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติเป็นบริเวณกว้างขวางหลายประเทศแต่บางชนิดก็เป็นเพียงต้นไม้เฉพาะถิ่นที่พบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติเพียงบางพื้นที่เท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 290 มิถุนายน 2546
    ไข้เลือดออกหน้าฝนกำลังย่างกรายมา มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเตือนว่าให้ระวังโรคปอดบวมมรณะ หรือซาร์ส เพราะเชื้อไวรัสตัวนี้อาจแพร่พันธุ์ได้ดีเมื่อพ้นฤดูร้อนไปแล้ว จึงควรดำเนินมาตรการเข้มในการป้องกันโรคนี้ต่อไปจนกว่าจะแน่ใจว่าประเทศไทยปลอดซาร์สจริงๆแล้ว อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีโรคที่พบประจำในฤดูฝนเจ้าเก่าอีกหลายโรค เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 289 พฤษภาคม 2546
    แสงแดด...ดาบสองคมที่ควรรู้เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าแสงแดดมีประโยชน์ต่อสุขภาพของมนุษย์เรานั่นคือเป็นแหล่งของวิตามินดี ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่กระแสเลือดมากขึ้น โดยที่แคลเซียมจะทำให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานได้ตามปกติและเสริมสร้างกระดูกเพื่อการเจริญเติบโต ผิวหนังคนเราสามารถสร้างวิตามินดี ได้เมื่อได้รับแสงอัลตราไวโอเลตชนิดบี ซึ่งในการผลิตวิตามินดีนี้ร่างกายไม่จำเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 286 กุมภาพันธ์ 2546
    เดือนกุมภาพันธ์สำหรับคนไทยยุคนี้ คงจะถือเป็นเดือนแห่งความรัก เพราะมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งนักบุญวาเลนไทน์ (๑๔ กุมภาพันธ์) ซึ่งถือเป็นวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ ดูเหมือนคนไทยจะเฉลิมฉลองวันวาเลนไทน์กันจริงจัง และเอิกเกริกใหญ่โตยิ่งขึ้นทุกปี นับตั้งแต่มีผู้ริเริ่มให้ความสำคัญกับวันดังกล่าว ขึ้นเมื่อราวสิบกว่าปีมานี้การยอมรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทยนั้นไม่ใช่เรื่องแปลก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    กล้วยไม้ : ดอกฟ้าที่โน้มลงสู่ชาวดินกลิ่นกล้วยไม้ หอมระรื่น ชื่นดวงจิตดุจได้มิตร สนิทเนื้อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 282 ตุลาคม 2545
    เตือนระวังสารพัดภัยผิวหน้าฝนแพทย์ชี้ เดินย่ำน้ำสกปรกเสี่ยงต่อการติดเชื้อรา แบคทีเรีย พยาธิ และโรคฉี่หนู อาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้จากการที่ระยะนี้มีฝนตกชุกและมีน้ำท่วมขังในหลายท้องที่ อีกทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์ว่ามีโอกาสเกิดฝนตกชุกและน้ำท่วมต่อไปอีก นายแพทย์ประวิตร พิศาลบุตร แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา โรคผิวหนัง อดีตนักวิจัยสถาบันสาธารณสุขแห่งสหรัฐอเมริกา ให้สัมภาษณ์ว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 281 กันยายน 2545
    อัญชันสีสันสำหรับเส้นผมและดวงตาฤดูฝนเป็นช่วงเวลาแห่งความชุ่มชื่น และการเกิดขึ้นใหม่ของสรรพชีวิต ในบริเวณเขตมรสุม เมืองร้อนอย่างประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ชนิดต่างๆ ที่ต้องอาศัย น้ำเพื่อแพร่พันธุ์ เช่น กบ เขียด อึ่ง คางคก หรือปลา เป็นต้น หรือ พืชประเภทล้มลุกที่มีหัวฝังอยู่ในดินช่วงฤดูแล้ง แล้วผลิใบใหม่ในฤดูฝน บ้างก็ทิ้งเมล็ดหล่นอยู่บนผิวดิน เมื่อได้ความชุ่มชื่นจากฝนพอเพียงก็งอกรากใบแล้วออกดอก ...