อนามัยสิ่งแวดล้อม

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    น้ำเน่าของวันนี้... หน้าที่ของเรา“ปี’35 เป็นปีสุดท้ายของความสามารถในการผลิตน้ำให้พอเพียงต่อความต้องการใช้น้ำ ตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นไป ปริมาณน้ำที่ผลิตได้จะไม่พอเพียงกับการใช้ ทั้งนี้เพราะจำนวนคนใช้เพิ่มขึ้น แต่แหล่งน้ำจืดที่จะนำมาใช้ทำน้ำประปาจะเริ่มน้อยลง” (ดร.เกษมสันติ์ สุวรรณรัต ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนรวม สำนักนโยบายและแผน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    ฟอร์มาลิน กับ อาหารเคยมีคนตั้งข้อสังเกตกับผักสดหรืออาหารทะเลสดที่สดแบบอมตะนิรันดร์กาลโดยไม่รู้จักเหี่ยว ทั้งที่ซื้อมาตั้งแต่วันก่อน อีกทั้งไม่ได้แช่ในตู้เย็นด้วย ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร ในที่สุดจึงได้คำตอบว่าเป็นเพราะสารฟอร์มาลิน (Formalin) นั่นเองมารู้จักกับ “ฟอร์มาลิน”ฟอร์มาลินเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งซึ่งมีพิษ ประกอบด้วยก๊าซฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) ละลายน้ำด้วยความเข้มข้นร้อยละ 37 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    เหตุเกิดที่แม่เมาะเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2535 ที่ผ่านมา สื่อมวลชนทุกแขนงได้รายงานข่าวตรงกันว่า ชาวบ้านที่ตำบลบ้านสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง จำนวนหลายร้อยคน มีอาการแสบจมูก แสบคอ บางรายวิงเวียนศีรษะ ไอ จาม หายใจไม่ค่อยออก แน่นหน้าอก เหตุการณ์ในครั้งนี้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม จนถึงวันที่ 5 ตุลาคม อาการดังกล่าวจึงเบาบางลง และจนกระทั่งวันที่ 20 ตุลาคม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    “หมูเป็นเอดส์”? ชาวบ้านผวาไม่กล้ากินประมาณกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมานี้ หลายท่านคงเกิดความวิตกกังวลจากข่าวของหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ฉบับหนึ่งของเมืองไทยที่ตีพิมพ์พาดหัวข่าวหน้าหนึ่ง ตัวโต สร้างความไม่สบายอกสบายใจให้เกิดขึ้นกับประชาชนอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ทราบข้อเท็จจริง กรณีของข่าวที่ปรากฏว่า “หมูเป็นเอดส์” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    ฉลากอาหารทุกวันนี้อาหารสำเร็จรูปได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนไทยมากขึ้นทุกที ไม่เฉพาะแต่ในกรุงเทพมหานครหรือเมืองใหญ่ๆเท่านั้น แม้แต่ในชนบทชาวบ้านในหมู่บ้านก็มีร้านค้าจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปมากขึ้น โอกาสที่จะพบแม่บ้านเจียวน้ำมันหมู ตำเครื่องแกง หรือดองผักไว้กินเองก็ค่อยๆหมดไปแล้ว อาหารสำเร็จรูป เครื่องประกอบการ ปรุงอาหาร ทั้งในรูปของแห้ง ผง บรรจุขวด กระป๋อง ถุงพลาสติก แช่เย็น ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    อันตรายจากภาชนะใส่อาหารในสมัยก่อนภาชนะที่เราใช้บรรจุอาหารส่วนมากมักจะใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กะลามะพร้าว เครื่องปั้นดินเผา (ไม่มีลวดลาย ไม่เคลือบ) แต่มาถึงยุคปัจจุบัน วัสดุจากธรรมชาติเหล่านี้ดูเหมือนว่าจะค่อยๆถูกกลืนหายไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่คืบคลานเข้ามาครอบงำวิถีชีวิตคนเราเสียจนหมดสิ้นถึงเดี๋ยวนี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะเห็นแต่จานกระเบื้องเคลือบสีลายสวย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    สุขสดชื่นเมื่อดื่มน้ำน้ำและเครื่องดื่มต่างๆเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตมาก ในทุกๆวันตั้งแต่ตื่นเช้าจนถึงก่อนนอน ตั้งแต่ตอนเป็นเด็กทารกจนถึงผู้สูงอายุ ล้วนต้องดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มเป็นประจำเกือบทุกๆ 2-3 ชั่วโมง เราทราบดีว่าร่างกายประกอบด้วยน้ำมากถึงร้อยละ 50-60 ในผู้ใหญ่ และประมาณร้อยละ 75 ในทารก แต่ทำไมเราไม่เก็บปริมาณของน้ำนี้ไว้ตลอดเวลา หรือสะสมน้ำไว้ในร่างกายให้มากโดยไม่ต้องดื่มน้ำเป็นวันๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    มลพิษในอากาศของกรุงเทพฯ มาเที่ยวได้แต่อย่าหายใจในวันเฉลิมพระชนมพรรษาขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา พระองค์ได้รับสั่งถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งได้ทรงแสดงออกซึ่งความเป็นห่วงของพระองค์ท่านต่อสุขภาพของปวงชนชาวไทยว่า มนุษย์ต้องมีสิ่งแวดล้อมที่ดีจึงจะมีชีวิตเป็นปกติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    ช้อนกลาง...สิ่งที่ขาดหายอันที่จริงมื้อเย็นวันนั้นก็อร่อยเหมือนกับทุกครั้งที่ผมเคยกินมา อาหารก็ถูกหลักโภชนาการครบ 5 หมู่ อีกทั้งเพิ่งทำเสร็จใหม่ๆ หอมกรุ่น น่ากินมาก ทุกๆ คนในบ้านล้อมวงนั่งกินกันอย่างเอร็ดอร่อย บรรยากาศในวงอาหารก็เหมือนมื้อเย็นของวันอื่นๆ ที่ผ่านมา แต่ว่าในเย็นวันนั้นนั่นเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ผู้หญิงกับบุหรี่ปัจจุบันผู้หญิงทั่วโลกหันมาสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น และผลที่ติดตามมา ก็คือ เป็นมะเร็งปอดมากขึ้น เด็กสาวที่เริ่มสูบบุหรี่ตั้งแต่วัยรุ่นจะมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดตั้งแต่อายุยังน้อยนอกจากมะเร็งแล้ว ยังมีโรคหัวใจอีกด้วย และในผู้หญิงที่กำลังตั้งครรภ์จะมีโอกาสแท้งมากกว่าผู้หญิงที่ไม่สูบบุหรี่ หรือมิฉะนั้นเด็กที่เกิดมาจะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ ...