ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    ช่วงนี้เราคงจะได้ยินเรื่องเกี่ยวกับ “นิ่ว” บ่อยไม่แพ้เรื่องโรคภัยไขเจ็บอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นตาแดง ไข้หวัดใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    อาการที่คนไข้ยกข้อมือไม่ขึ้นเนื่องจากกล้ามเนื้อที่บังคับข้อมือไม่ทำงานหรือเป็นอัมพาต เราเรียกว่าข้อมือตก (wrist drop) ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเพียงข้างเดียว หรือเกิดพร้อมกันทั้ง 2 ข้างก็ได้สาเหตุเนื่องจากมีการอับเสบของประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อบังคับข้อมือ ที่เรียกว่า ประสาทเรเดียล (radial nerve) จึงทำให้เกิดอาการชา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    “หมอกับชาวบ้านแม้จะเป็นคนไทยเหมือนกัน แต่หมอก็มีวัฒนธรรมแบบหมอ ๆ และชาวบ้านก็มีวัฒนธรรมแบบชาวบ้าน ๆ วัฒนธรรมในที่นี้ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม ความถนัด ความเคยชิน ธรรมเนียมปฏิบัติ รวมทั้งภาษาในการสื่อสาร “พูดจาภาษาหมอ” มิเพียงแต่เป็นเรื่องของการอธิบายศัพท์เกี่ยวกับสุขภาพเท่านั้น แต่ยังมุ่งหมายให้เป็นสะพานเชื่อมระหว่างวัฒนธรรมย่อยสองระบบเข้าด้วยกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    ประชาชนส่วนใหญ่สามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นฉบับก่อน ๆ ได้กล่าวถึงการตรวจรักษาอาการ “หน้ามืดเป็นลม” ซึ่งอาการหน้ามืดเป็นลมก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    ติ่งเนื้อเล็ก ๆ มีลักษณะเป็นสีเหลือง ๆ ตรงใต้ตาหรือรอบ ๆ กระบอกตา ดังในภาพทั้ง 3 นี้ เกิดจากการพอกตัวของไขมันในร่างกาย ซึ่งมีระดับที่สูงเกินปกติ เรียกว่า “ติ่งไขมัน” (xanthelasmata)หากสงสัยควรไปหาหมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากท่านได้ยินได้เห็นภาษาหมอคำใดแล้วไม่เข้าใจ ก็ขอเชิญเขียนจดหมายถามมา ยังคอลัมน์ได้เลยครับ”“คุณหมอค่ะ ดิฉันมีอาการปวดที่หัวเข่ามาหลายเดือนแล้ว ใช่เป็นโรคมาติสซั่มหรือเปล่าคะ?”“คุณหมอครับ ว่ากันว่าโรครูมาติสซั่มเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นในฉบับก่อน ๆ ได้กล่าวถึงสาเหตุต่าง ๆ ที่พบบ่อยของอาการเป็นลมหน้ามืด เช่น เป็นลมเพราะจิตใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    ทางหมอชาวบ้านได้รับคำถามจากผู้อ่านจำนวนมากที่ถามถึงอันตรายของโรคไวรัสตับอักเสบ บี และความจำเป็นในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ ซึ่งกำลังเป็นเรื่องฮิตเรื่องหนึ่งของคนไทยในขณะนี้ทางกองบรรณาธิการจึงได้รวบรวมข้อเท็จจริงและทรรศนะต่าง ๆ จากบทความและการให้สัมภาษณ์ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคนี้หลายท่านด้วยกันอันได้แก่ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    คุณผู้อ่านลองเดาซิว่า ภาพที่เห็นนี้เป็นหญิงหรือชาย ?เจ้าของภาพนี้เป็นผู้ชายแท้ ๆ ครับแต่มีอาการนมโต คล้ายหน้าอกของผู้หญิงชายคนนี้มีประวัติชอบดื่มเหล้ามาหลายปีดีดัก ...