อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    ไก่ทอดไม่ใช้น้ำมันวันนี้นึกยังไงขึ้นก็ไม่ทราบ รู้สึกอยากกินไก่ทอดกับข้าวสวยร้อนๆ ขึ้นมาจับใจ เปรยให้หลานสาวฟัง เขาก็มีน้ำใจบอกว่าเดี๋ยวจะเดินไปซื้อไก่ทอดหน้าปากซอยมาให้ดิฉันนึกภาพเห็นไก่ทอดที่แม่ค้ามักจะเอาลงไปชุบแป้งก่อนทอด หรือไม่ก็ทอดอยู่ในกระทะที่มีน้ำมันซึ่งจำสีเก่าไม่ได้แล้วก็ส่ายหัวบอกหลานว่าไม่เอาดีกว่า เพราะเคยเจอไก่ทอดประเภทหนังกรอบที่พอฉีกหรือหั่นแล้วเจอเลือดแดงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    เนื้อเค็มคงจะมีบ่อยครั้งทีเดียวที่คุณแม่บ้านเกิดความรู้สึกเบื่ออาหารสดอันจำเจ เพราะทั้งเนื้อสดและผักสดเท่าที่ปรากฏอยู่ในท้องตลาดทุกวันนี้ หากใครลองสังเกตดูจะพบว่า มีซ้ำๆ กันอยู่ไม่กี่ชนิดเท่านั้น โดยเฉพาะผักสดจะเหลืออยู่แต่เฉพาะ “ผักจีน” (ใช้สารเคมีมาก) ซึ่งได้แก่ คะน้า ผักกาดหอม ต้นหอม ผักชี ฯลฯ ส่วน “ผักไทย” (ใช้สารเคมีน้อยหรือไม่ใช้เลย) เช่น ผักหวาน มะรุม กระถิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    กล้วย – สับปะรดทอด (ฟิเลต์)เมื่อช่วงเดือนที่แล้ว หลายๆ คนเครียดมาก รู้สึกว่าบ้านเมืองถึงจุดอับ ไร้อนาคต หลานสาวดิฉันก็เช่นกัน วันก่อนแกเลยมาขออนุญาตไปพักผ่อนสักพัก ดิฉันถามว่าจะไปไหน แกบอกยังไม่รู้เลย หายไป3 วัน ก็หอบปลาหมึกแห้งมาฝากพร้อมผิวสีกาแฟ เล่าให้ดิฉันฟังว่า ไปเกาะเสม็ดมา ไปเห็นทะเลแล้วรู้สึกค่อยหลุดออกจากภาพเก่าๆ หน่อย เพราะทะเลมันกว้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    พยาธิ-อันตรายที่แฝงตัวมากับอาหารผักและเนื้อสัตว์จัดว่าเป็นอาหารหลักที่สำคัญของคนไทย ไม่ว่าจะมีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันเพียงใด แต่บางครั้งการบริโภคผักและเนื้อสัตว์อาจไม่ค่อยมีความปลอดภัยนัก เพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมที่แฝงตัวมาด้วยไม่ว่าจะเป็นสารพิษฆ่าแมลง สารเคมีต่างๆ เช่น ฟอร์มาลิน (formalin) แต่สิ่งหนึ่งที่หลายคนอาจจะมองข้ามไป สิ่งนั้นก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    กระท้อนลอยแก้วในช่วงเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน อาจถือได้ว่าเป็นช่วงที่ร้อนที่สุดก็ว่าได้ ถ้าเป็นอุณหภูมิความร้อนของบรรยากาศทางการเมืองที่กำลังคุกรุ่นอยู่ขณะนี้ เราท่านในฐานะพลเมืองตัวเล็กๆก็ได้ทำหน้าที่กันอย่างดีที่สุดแล้วในช่วงที่ผ่านมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    อันตรายจากภาชนะใส่อาหารในสมัยก่อนภาชนะที่เราใช้บรรจุอาหารส่วนมากมักจะใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กะลามะพร้าว เครื่องปั้นดินเผา (ไม่มีลวดลาย ไม่เคลือบ) แต่มาถึงยุคปัจจุบัน วัสดุจากธรรมชาติเหล่านี้ดูเหมือนว่าจะค่อยๆถูกกลืนหายไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่คืบคลานเข้ามาครอบงำวิถีชีวิตคนเราเสียจนหมดสิ้นถึงเดี๋ยวนี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะเห็นแต่จานกระเบื้องเคลือบสีลายสวย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ปลาเค็มเป็นที่ทราบกันดีว่าปลาเป็นอาหารที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนไทยเรา จนมีสำนวนที่เราคุ้นเคยและพูดกันจนติดปากว่า “กินข้าวกินปลา” หรือกล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ในด้านอาหารของไทยเราว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” นั่นย่อมแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดแล้วว่า ปลาเป็นอาหารสำคัญยิ่งของไทยเรามาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว แต่เมื่อสภาพของบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    สะเดา ความขมที่เป็นยา“หวานเป็นลม ขมเป็นยา” คำพังเพยเก่าแก่ของชาวไทยประโยคนี้ แสดงถึงความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติด้านยารักษาโรคของสิ่งที่มีรสขมเช่นสมุนไพรต่างๆ คำพังเพยประโยคนี้เปรียบเทียบคำพูดหรือคนที่พูดไพเราะอ่อนหวานว่า อาจจะเป็นพิษภัยเหมือนกับลม ซึ่งเชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ในขณะที่คำพูดหรือคนที่พูดไม่ไพเราะนั้น มักจะมีประโยชน์เหมือนกับยา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    กินผักช่วยป้องกันมะเร็งได้จริงหรือในขณะที่คนกินเนื้อดูเหมือนจะมีภูมิต้านทานโรคสูง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับคนกินผักในแง่การต่อต้านโรคมะเร็ง คนที่กินผักดูเหมือนว่าจะได้เปรียบกว่าจากการวิจัยในประชากรส่วนใหญ่ที่ผ่านๆ มาพบว่า คนที่กินอาหารจำพวกผักมีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งต่ำ แต่นักวิจัยก็ยังไม่รู้สาเหตุแน่ชัด สมมติฐานสำหรับเรื่องนี้มีด้วยกัน 3 ประการ คือ1. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    หัวใจล้มเหลวจากการขาดวิตามินบีเมื่อกลางเดือนมกราคม 2533 ที่ผ่านมา ผมและเพื่อนคนไทย 6 คน ได้มีโอกาสไปร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้กับแพทย์ในสาขาระบาดวิทยานานาชาติที่ประเทศเม็กซิโก มีรายงานสอบสวนโรคหลายชิ้นที่น่าสนใจ แต่มีรายงานหนึ่งที่ผมคิดว่าพี่น้องชาวไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศ โดยเฉพาะทางตะวันออกกลางจำเป็นต้องทราบเรื่องมีอยู่ว่า ในเดือนมิถุนายนของปี 2532 ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงริยาด ...