อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ต้มโคล้งปลาดุกย่างอาหารไทยรสจัดจ้านที่ไม่ควรพลาดเมื่อเอ่ยถึงต้มโคล้ง หลายคนโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่มักจะถามว่าคืออะไร กินไม่เป็น ซึ่งต่างจากต้มยำซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ดิฉันก็ยังหาคำตอบไม่ได้เหมือนกันว่า ทำไมต้มโคล้งจึงไม่ฮิตเท่าต้มยำทั้งๆที่รสชาติใกล้เคียงกัน และเครื่องปรุงก็คล้ายๆ กัน ที่ต่างกัน คือต้มโคล้งมักจะใช้ปลาย่าง หรือปลากรอบ ในขณะที่ต้มยำจะใช้ปลาสด หรือกุ้งสด ต้มโคล้งจะใช้มะขามเปียก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    น้ำมันพืชก่อนที่เราจะไปช็อปปิ้งกันวันนี้ ผมต้องขออนุญาตแก้ไขข้อมูลที่ได้ระบุไว้ในคอลัมน์นี้เมื่อ 3 เดือนที่แล้วให้ทันสมัยขึ้นอีก เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งว่า หลักการกำหนดสถานภาพการเป็นโรงงานได้เปลี่ยนแปลงจากเดิมซึ่งระบุว่าเป็นสถานประกอบการที่มีเครื่องจักรกำลังสูงกว่า 2 แรงม้า เป็นเครื่องจักรที่มีกำลังสูงกว่า 5 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ยาอายุวัฒนะเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา มูลนิธิหมอชาวบ้านได้จัดประชุมสัมมนาร่วมกับนักจัดรายการวิทยุทั่วประเทศในหัวข้อเรื่อง “วิทยุ สื่อมวลชนเพื่อการสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต” ณ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพมิชชั่น อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านอาหาร และยา การรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    มะขาม : ต้นไม้ประจำครัวไทย“อะไรเอ่ย ต้นเท่าลำเรือ ใบห่อเกลือไม่มิด”คำทายสำหรับเด็กข้อนี้ อาจจะยากสำหรับเด็กในเมือง แต่นับว่าง่ายมากสำหรับเด็กในชนบท เพราะแม้บางคนจะนึกคำตอบไม่ออก ผู้ทายก็จะบอกใบ้ให้ว่า “หาได้ในครัว” เท่านี้ทุกคนก็จะตอบได้ เนื่องจากในครัวของคนไทยย่อมมีส่วนหนึ่งของต้นไม้ชนิดนี้อยู่เสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    วิธีเลือกร้านอาหารขณะเดินทาง“ไหน แวะร้านไหนดี” คนขับรถ ถามเพื่อนร่วมทาง “เอาร้านโน้นสิ คนเยอะดี สงสัยอร่อย” นั่นคือ คำตอบที่ได้รับบทสนทนาข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างของวิธีการหนึ่งในการเลือกร้านอาหารที่จะเข้าไปบริโภคของคนทั่วไป ซึ่งก็ถือได้ว่าเป็นวิธีที่มีความเหมาะสมในระดับหนึ่ง เพราะร้านที่คนเข้าไปใช้บริการกันมากมักเป็นร้านที่อาหารอร่อย ราคาไม่แพงเกินไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    ครีมเทียมหนึ่งเดือนผ่านไป ก็ได้เวลานัดไปช็อปปิ้งของเราอีกแล้วใช่ไหมครับ เดือนนี้จะพาท่านผู้อ่านมารู้จักการอ่านฉลากครีมเทียมกัน ครีมเทียมได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในวงการสภากาแฟบ้านเราเมื่อประมาณ 15 ปีที่ผ่านมา โดยพวกเรามักเรียกกันติดปากว่า “คอฟฟี่เมต” ซึ่งเป็นชื่อการค้า ก็เลยอาจสั่งลูกหลานให้ไปซื้อคอฟฟี่เมตยี่ห้อคูซ่าบ้าง ยี่ห้อบรูคส์บ้างก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    เต้าส่วนเมื่อเย็นวันก่อน หลานสาว (คนสวย) เดินหน้าแฉล้มเข้ามาถามว่า “หมอชาวบ้านครั้งต่อไปคุณป้าจะเข้าครัวทำอะไรคะ หนูขอเป็นขนมนะคะ” ดิฉันก็คิดว่าดีเหมือนกัน แนะนำอาหารคาวมาแล้วหลายครั้ง แต่...เอ จะทำขนมอะไรดีล่ะ นึกไปนึกมาก็ไปลงที่เต้าส่วน เพราะความชอบโดยส่วนตัว คุณแก้วบอกว่าทำไมทำของกล้วยๆ จังเลย เอาอย่างอื่นดีกว่าขณะที่สาวๆ หลายคนบอกว่าไม่หมูนะพี่ ทำยากออก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    ข้าวแดง-สีย้อมจากธรรมชาติหน้าตาของอาหารมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการเชิญชวนให้ผู้บริโภคใคร่อยากจะชิมลิ้มลอง และสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการช่วยเสริมหน้าตาของอาหารให้ดูน่ากินมากยิ่งขึ้น ก็คือ สีสันของอาหาร นั่นเองในสมัยก่อนที่เรายังไม่มีสีสังเคราะห์ที่ใช้ผสมอาหารเพื่อให้เกิดสีสันสวยงามเหมือนสมัยนี้ ชาวบ้านในยุคนั้นจึงได้คิดดัดแปลงโดยสกัดเอาสีจากพืชซึ่งเป็นสีธรรมชาติมาใช้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    “หมูเป็นเอดส์”? ชาวบ้านผวาไม่กล้ากินประมาณกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมานี้ หลายท่านคงเกิดความวิตกกังวลจากข่าวของหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ฉบับหนึ่งของเมืองไทยที่ตีพิมพ์พาดหัวข่าวหน้าหนึ่ง ตัวโต สร้างความไม่สบายอกสบายใจให้เกิดขึ้นกับประชาชนอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ทราบข้อเท็จจริง กรณีของข่าวที่ปรากฏว่า “หมูเป็นเอดส์” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    ฉลากอาหารทุกวันนี้อาหารสำเร็จรูปได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนไทยมากขึ้นทุกที ไม่เฉพาะแต่ในกรุงเทพมหานครหรือเมืองใหญ่ๆเท่านั้น แม้แต่ในชนบทชาวบ้านในหมู่บ้านก็มีร้านค้าจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปมากขึ้น โอกาสที่จะพบแม่บ้านเจียวน้ำมันหมู ตำเครื่องแกง หรือดองผักไว้กินเองก็ค่อยๆหมดไปแล้ว อาหารสำเร็จรูป เครื่องประกอบการ ปรุงอาหาร ทั้งในรูปของแห้ง ผง บรรจุขวด กระป๋อง ถุงพลาสติก แช่เย็น ฯลฯ ...