อาหารสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 95 มีนาคม 2530
    เครื่องดื่มสมุนไพรขึ้นชื่อว่า สมุนไพรแล้ว คนไทยส่วนใหญ่รู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่างดี เพราะอาหารประจำวันมีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบแทบทั้งสิ้น เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว หัวหอม หัวกระเทียม พริกไทย กระชาย เป็นต้น บทบาทของสมุนไพรนอกจากจะนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารแล้ว บางชนิดยังสามารถนำมาปรุงเป็นเครื่องดื่มดับกระหาย คลายเหนื่อยได้เป็นอย่างดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 95 มีนาคม 2530
    พริก ยาฆ่าแมลงธรรมชาติถิ่นเดิมของพริกขึ้นอยู่แถบทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ เม็กซิโก เปรู เป็นต้น ชาวอินเดียนแดง เป็นชนเผ่าแรกที่ปลูกและกินพริก ใช้พริกปรุงอาหาร ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ได้มีผู้นำพริกเข้าไปในยุโรป และราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้แพร่เข้าไปยังประเทศจีนและประเทศอื่นๆในเอเชีย⇒ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capsicum frutescens. L. (C. minimum Roxb) วงศ์ Solanaceae ในพริกมีแคปซายซิน (Capsaicin) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 94 กุมภาพันธ์ 2530
    นม – อาหารธรรมชาติที่ทรงคุณค่าน้ำนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ในน้ำนมแม่นอกจากมีอาหารที่เหมาะสำหรับเด็กเกิดใหม่แล้ว ทารกยังสามารถย่อยและดูดซึมได้ง่ายอีกด้วยนอกจากนี้ น้ำนมแม่ยังมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของภูมิคุ้มกัน (Immunoprotein) หลายชนิดที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ทารกทำให้ทารกแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรคได้ เพราะฉะนั้นคุณแม่ควรจะเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 93 มกราคม 2530
    สมุนไพรในครัวลองมองสำรวจไปรอบๆห้องครัวหน่อยเถอะครับ...คุณผู้อ่านเห็นอะไรบ้างห้องครัวในบ้านนั้น แท้จริงแล้วดูจะเป็นแหล่งสมุนไพรเราดีๆนี่เอง เพราะเครื่องปรุงอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พริก หอม กระเทียม น้ำปลา ข่า ขิง ตะไคร้ ฯลฯ ล้วนแล้วแต่มีสรรพคุณทางยาทั้งนั้น มาดูกันสิครับ กระชาย มีรสเผ็ดร้อน ใช้แก้โรคในปาก ขับระดูขาว แก้ใจสั่นหวิว ส่วนหัวกระชายมีรสสุขุม แก้ปวดมวนในท้อง บำรุงกำลัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    เป็ด-เป็ด(ย่าง)ปักกิ่ง⇒ เป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anas domestica L.พอเอ่ยถึงเป็ดปักกิ่ง ใครๆก็ร้องอ๋อ เป็ดปักกิ่งเป็นอาหารที่ทั่วโลกรู้จักเป็นอย่างดี เป็นศิลปะการกินเป็ด ของชาวจีน ซึ่งมีประวัติอันยาวนานมาแล้วจีนเป็นชาติแรกที่รู้จักการเลี้ยงเป็ด ดังที่บันทึกไว้ในหนังสือ “เอ่อหย่า” จนกระทั่งราวคริสต์ศักราชที่1 ชาวยุโรปจึงค่อยๆรู้จักเลี้ยงเป็ด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 3 ( เพลินพันธุ์ไม้ )หลังจากสวดมนต์ก่อนนอนแล้วล้มตัวลงนอน หลับตาทำจิตใจให้ว่างเพื่อที่จะได้หลับได้ง่าย พลันก็ได้กลิ่นหอมเย็นๆของเครื่องกระแจะจันทน์ ซึ่งเครื่องกระแจะจันทน์นั้นเป็นน้ำหอมหรือน้ำปรุงของชาวชนบทในสมัยโบราณ เพราะในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องปรุงน้ำหอมหรือแป้งประเทืองผิวเสริมความงามเหมือนอย่างในปัจจุบัน อันเครื่องหอมน้ำปรุงนั้น จะประกอบด้วยเปลือกชลูด เปลือกต้นกำยาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 2( น้ำพริกมื้อเย็น )หลังจากพูดคุยอยู่กับเจ้าของบ้านผู้อารีแล้ว ก็ขออนุญาตเดินชมต้นไม้รอบๆบ้าน ซึ่งก็ได้รับความกรุณา และท่านเจ้าของบ้านก็พาเดินชมไปด้วย พร้อมกันนั้นก็ได้อธิบายถึงคุณประโยชน์ต่างๆของต้นไม้ที่ได้หามาปลูกเองบ้าง บางต้นก็ขึ้นเองตามธรรมชาติก้าวแรกที่ได้เหยียบพื้นดินด้านซ้ายมือก็พบเข้าแล้ว ต้นมะลิ ซึ่งนอกจากดอกให้กลิ่นหอมแล้ว ยังนำไปบูชาพระได้อีก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป⇒ มันฝรั่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solanum tuberosum Linn. วงศ์ Solanaceae แหล่งกำเนิดของมันฝรั่งคือประเทศเปรู ได้มีการขุดพบเครื่องใช้ที่มีรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า ทำขึ้นประมาณ 200 กว่าปีก่อนคริสต์ศักราช (2,200 ปีมาแล้ว) จากหลักฐานดังกล่าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    น้ำส้มสายชูเครื่องปรุงอาหารที่ขาดไม่ได้น้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงอาหารที่สำคัญ ซึ่งขาดเสียไม่ได้อย่างหนึ่งในชีวิตประจำวัน ชาวจีนรู้จักการทำน้ำส้มสายชูมาเป็นเวลาหลายพันปีแล้ว ดังมีบันทึกไว้ในหนังสือ โจวหลี่ ซึ่งเขียนโดยโจวกง ในปี 1058 ก่อนคริสต์ศักราช (ประมาณ 3044 ปีมาแล้ว)น้ำส้มสายชูมีประโยชน์มากมายในการผัดผักถ้าใส่น้ำส้มสายชูลงไปเล็กน้อย ก็จะช่วยถนอมคุณค่าอาหารของผัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    บัว สมุนไพรมีคุณค่าเมื่อกล่าวถึงบัวใครๆก็รู้จักดี ดอกบัวเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งในทางพุทธศาสนา ดอกบัวถูกนำไปใช้ในพิธีการต่างๆ ทางศาสนกิจ พระพุทธเจ้าได้เปรียบมนุษย์เหมือนดอกบัว 4 ประเภทบัวนอกจากมีความสำคัญในทางศาสนาพุทธแล้ว นักกวีหรือจิตรกรมักนำเอาบัวไปเป็นวัตถุดิบในการประพันธ์หรือวาดภาพ และที่สำคัญคือ ทุกส่วนของบัวตั้งแต่เหง้า ใย ใบ ดอก รังบัว ...