ออกกำลังกาย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    วันนี้...คุณเดินครึ่งชั่วโมงแล้วหรือยังทุกวันนี้ คนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด (โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน/อัมพาต) โรคเบาหวาน และโรคมะเร็งกันมากขึ้นกว่าเดิม สถิติอัตราป่วยด้วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้นจาก ๒๙๒ รายต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๓ เป็น ๔๕๑ ต่อแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๖ โรคเบาหวานเพิ่มจาก ๒๕๗ เป็น ๓๘๑ ต่อแสนคน โรคมะเร็งเพิ่มจาก ๗๒ เป็น ๑๐๒ ต่อแสนคนในเวลา ๓ ปี ทุกๆ ๖ นาที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 313 พฤษภาคม 2548
    ออกกำลังกายอย่างไร...ให้หัวใจแข็งแรงผู้ถาม : เกียรติศักดิ์/ร้อยเอ็ดผมได้ดูรายการโทรทัศน์ทุกวันนี้ส่งเสริมการออกกำลังกายในหลายๆ ชนิด มีทั้งของวัยเด็ก วัยรุ่น วัยสูงอายุ สำหรับผมที่อายุอยู่ในวัยกลางคน คืออายุ ๕๔ ปี ต้องการออกกำลังกายให้หัวใจแข็งแรง จึงอยากทราบว่าสำหรับคนอายุขนาดนี้ มีวิธีการออกกำลังกายแบบไหนบ้างที่จะทำให้ร่างกายแข็งแรง และปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 313 พฤษภาคม 2548
    กริยาประเภทที่ ๖ บาสติเราได้อธิบายเทคนิคของกริยา (การชำระล้าง) มาแล้ว ๕ ประเภท ได้แก่ ๑ ตาตระกะ (ท่อทางเดินน้ำตา) ๒ เนติ (โพรงจมูก) ๓ กะปาละภาติ (ระบบทางเดินอากาศ) ๔ เดาติ (ระบบย่อยอาหารส่วนบน) ๕ นาอุลิ (ช่องท้อง) คราวนี้เรามาดูเทคนิคสุดท้ายคือบาสติ ซึ่งเป็นการทำความสะอาดระบบย่อยอาหารส่วนล่าง คำว่า บาสติ แปลว่า ช่องท้องส่วนล่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    พึงระลึกว่า โยคะเป็นภูมิปัญญาโบราณจากอินเดีย ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพามนุษย์ไปสู่เป้าหมายสุดท้ายแห่งการที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ คือทำกิจที่ควรทำให้เสร็จสิ้น ให้หมดจด เพราะเมื่อเราได้ทำกิจที่ควรทำเรียบร้อยแล้ว เราจะได้ "ไม่ต้องกลับมาเกิดอีก" และเทคนิคการฝึกโยคะทั้งหลาย ก็มีจุดมุ่งหมายที่จะนำพาผู้ฝึกไปเพื่อการนี้ทั้งสิ้นเรากำลังอยู่ในเรื่องของเทคนิคกริยา ที่หมายถึงการชำระล้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    วันหนึ่งมีคนมาพบผม โดยนัดกับเลขาหน้าห้องผมไว้ เป็นประชาชนคนหนึ่ง ขอเอ่ยนามท่านผู้นั้นชื่อคุณเกียรติ ภัทรกุล ทำอาชีพค้าขายส่วนตัว จบปริญญาจากมหาวิทยาลัย ท่านอ่านหนังสือผมเรื่องที่ผมเขียน ท่านคิดอะไรดีๆ จึงอยากจะสื่อสารให้คนอื่นทราบ ท่านบอกว่าน้ำเกลือเข้มข้น สามารถรักษาโรคไซนัสอักเสบได้ ท่านทดลองท่านเอง เดี๋ยวผมขยายความต่อไปและก็มีพระอีกรูปหนึ่งบอกว่า หัวข้อสุขภาพเป็นเรื่องง่ายๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    เรายังคงอยู่ในเรื่องของ "กริยา" ซึ่งเป็นเทคนิคเสริม เพื่อช่วยเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมต่อการฝึกเทคนิคโยคะต่างๆ โดยเฉพาะเทคนิคโยคะที่สูงขึ้น เช่น ปราณยามะและสมาธิ ซึ่งต้องการความพร้อมของร่างกายและจิตใจมากเป็นพิเศษกริยามีอยู่ด้วยกัน 6 กลุ่ม เรากล่าวถึง ตาตระกะ (ดวงตาและท่อทางเดินน้ำตา) เนติ (โพรงจมูก) กะปาละบาติ (ระบบหายใจ) ไปแล้ว คราวนี้ เรามาพูดถึงกลุ่มที่ 4 เดาติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    เรายังคงอยู่ในเรื่องเทคนิค "อื่นๆ" ของโยคะ ดังที่ได้เน้นเสมอว่า โยคะไม่ใช่การออกกำลังกายชนิดหนึ่ง และเทคนิคของโยคะก็ไม่ได้มีแค่อาสนะ อย่างที่เรามักรับรู้กัน ทั้งหมดของโยคะเป็นการพามนุษย์ไปสู่โมกษะหรือความหลุดพ้น ซึ่งต้องอาศัยกายที่สมดุล มีมัสเซิลโทนดี (อาสนะ) ต้องการอารมณ์ที่มั่นคง โดยการฝึกให้หายใจช้าลง (ปราณายามะ) อย่างไรก็ตาม คนจำนวนหนึ่งไม่พร้อม จึงต้องมี "กริยา" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    เทคนิคกริยาโยคะที่เป็นที่นิยมทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอินเดียเองคือ เนติ หรือการทำความสะอาดโพรงจมูก เราแบ่งเนติออกได้เป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ สูตระเนติ คือการใช้เส้นด้าย หรือสายยางทางการแพทย์ (rubber catheter) เป็นอุปกรณ์ในการทำความสะอาด ส่วนกลุ่มที่ ๒ ชลเนติ ใช้น้ำเป็นสื่อในการชำระล้างภายในโพรงจมูกของเราในกลุ่มที่ ๑ สูตระเนตินั้น ผู้ปฏิบัติจะใช้เส้นด้าย หรือสายยางเส้นเล็กๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ตาตระกะเป็นเทคนิคการฝึกโยคะชนิดหนึ่ง ซึ่งจัดอยู่ในหมวดของกริยาหรือการชำระล้าง กล่าวโดยคร่าวๆ เทคนิคนี้ คือการนั่งเพ่งดวงไฟของเทียนสัก ๑ นาที จนกระทั่งน้ำตาไหล ผลที่ได้รับในเชิงกายภาพ คือการกระตุ้นให้ต่อมน้ำตาทำงานได้เป็นปกติ เป็นการทำความสะอาด ชำระล้างท่อน้ำตา นอกจากนั้น ตาตระกะยังช่วยผ่อนคลายการทำงานของกล้ามเนื้อตา เนื่องเพราะในเวลาปกติที่เราใช้สายตามองสิ่งต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    ปราณยามะ 7 ความเชื่อ VS ข้อเท็จจริงเราได้พูดถึงรายละเอียดของปราณยามะมาพอสมควรแล้ว ฉบับนี้ เราลงตารางเปรียบเทียบ ระหว่าง ปราณยามะกับการหายใจทั่วไป เพื่อให้เราเข้าใจปราณยามะได้ดียิ่งขึ้นไปอีกเมื่อทำความเข้าใจกับหลักต่างๆในการฝึกปราณยามะแล้ว จะเห็นได้ว่า ปราณยามะไม่ใช่การเพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายอย่างที่หลายคนเข้าใจ ตรงกันข้ามเลย ปราณยามะเป็นการลดอากาศ เพื่อลดการหายใจ ...