อิริยาบถ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    โรคติดเชื้อสเตรปโตค็อกคัส กลุ่มบี : กรณีศึกษาจาก "นก-ฉัตรชัย"ช่วงกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สื่อมวลชนได้ประโคมข่าวการเจ็บป่วยของ "นก-ฉัตรชัย เปล่งพานิช" พระเอกชื่อดังที่ป่วยกะทันหัน ด้วยอาการแขนขาซีกหนึ่งอ่อนแรง และได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลวิชัยยุทธ แพทย์ได้ตรวจพบว่า มีการติดเชื้อเข้าไปในกระแสเลือด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ยืนทำงาน ออกกำลังอย่างไรคนทำงานที่ต้องยืนนานมักประสบปัญหาอาการปวดน่อง เท้า และหลัง เป็นประจำ แถมด้วยอาการหลอดเลือดขอด ยืนทำงานมีผลเสียอย่างไรบ้างการยืนนานๆ จะส่งผลให้ร่างกายมีอาการผิดปกติ ดังต่อไปนี้ ๑.มีน้ำหนักกดอยู่ที่ฝ่าเท้าเป็นเวลานาน๒.กล้ามเนื้อน่องต้องทำงานตลอดเวลา๓.มีเลือดคั่งค้างอยู่ที่เท้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    ไวรัสโรตา...ยมทูตร้ายในทารกไวรัสโรตาเป็นเชื้อที่คร่าชีวิตทารกทั่วโลกมากกว่า ๔๐๐,๐๐๐ คนต่อปี ซึ่งสามารถเทียบได้เท่ากับ ๑ คน ต่อ ๑ นาที เชื้อไวรัสโรตาเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อในลำไส้ นำไปสู่ภาวะลำไส้อักเสบในทารกอายุระหว่าง ๖-๒๔ เดือน ซึ่งเชื้อไวรัสโรตานั้นสามารถที่จะมีชีวิตอยู่ในสภาวะแวดล้อมทั่วไปได้นานหลายชั่วโมง และอยู่ได้นานหลายวันถึง ๑ สัปดาห์ในอุจจาระของคน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    แพทย์เตือนคนทำงานเสี่ยงต่อการเป็นโรคเอ็มเอสเอ็มเอสโรคร้ายแรงทางระบบประสาท พบมากในวัยทำงาน เป็นแล้วไม่สามารถรักษาหายขาด เพียงแค่ชะลออาการ แถมเสียค่าใช้จ่ายสูงรศ.พญ.นาราพร ประยูรวิวัฒน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคมัลติเพิล สเคอโรซิส หรือเอ็มเอส (Multiple Sclerosis : MS) และสมาชิกชมรมเอ็มเอสไทย (ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศ) กล่าวว่า โรคเอ็มเอสเป็นโรคเรื้อรังของระบบประสาทส่วนกลาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    มะเร็งเต้านม ตรวจพบเร็ว ไม่ต้องตัดนายแพทย์ศุภกร โรจนนินทร์ รองคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ และกิจการพิเศษ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เปิดเผยว่า ปัจจุบันผู้หญิงไทยถูกมะเร็งเต้านมคุกคามสูงมากขึ้นตลอดเวลา ที่โรงพยาบาลศิริราชนั้นพบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมสูงมากเป็นอันดับ ๑ แซงหน้าจากมะเร็งปากมดลูก และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี"มะเร็งเต้านม" ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ถึงหน้าเทศกาลและวันหยุดยาว การขับรถทางไกล และต้องอยู่บนถนนเผชิญกับการจราจรเป็นชั่วโมง วิธีการปรับที่นั่งขับรถเพื่อป้องกันอาการปวดที่อาจเกิดขึ้นในผู้ขับขี่ยานพาหนะเป็นระยะเวลานานเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งการนั่งขับรถต่างกับการนั่งเก้าอี้ธรรมดาอย่างไรถ้ารถที่ท่านขับอยู่นิ่ง การขับรถไม่ได้ต่างจากการนั่งเก้าอี้ธรรมดา แต่ขณะที่รถมีการเคลื่อนที่จะมีแรงกระทำต่อร่างกายในหลายทิศทาง ได้แก่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    ข้อแตกต่างที่ชัดเจนที่สุดระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและโน้ตบุ๊กคือ โน้ตบุ๊กจะมีขนาดเล็กกว่าและไม่สามารถปรับระดับจอและแป้นพิมพ์ได้ปัจจุบันนี้มีการใช้โน้ตบุ๊กกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากความสะดวกสบายที่โน้ตบุ๊กเป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถนำพาไปได้เกือบทุกที่ อีกทั้งประสิทธิภาพของโน้ตบุ๊กก็ไม่ด้อยไปกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และเทคโนโลยียุคปัจจุบันเช่น wireless LAN ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    นอนกรนรักษาได้คุณเคยมีอาการอย่างนี้กันบ้างไหมนอนตื่นสายทั้งๆ ที่เมื่อคืนก็ไม่ได้นอนดึกนอนมาก ตื่นก็สาย แต่ทำไมไม่สดชื่น แถมมีอาการง่วงๆ ซึมๆ อีกต่างหากหงุดหงิด อารมณ์เสียง่าย ความสามารถในการจำลดลงตกบ่ายก็เกิดอาการหาว และอยากนอนไม่ว่าเพศใด วัยใด น้ำหนักขนาดไหน ถ้าหากมีอาการที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกับอาการต่างๆ เหล่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    มีคำกล่าวที่ได้เคยกล่าวมาในช่วงแรกๆ ของบทความ คือประโยคที่ว่า "fitting the task to the man" การจัดงานให้เข้ากับคน หรือบางคนก็อาจพูดกลับกันเป็น "fitting the man to the task" การจัดคนให้เข้ากับงาน สองประโยคนี้มีการพูดถึงบ่อยในวงการการยศาสตร์ (ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดงาน สภาพงาน และสิ่งแวดล้อมของการทำงานให้เข้ากับผู้ที่ใช้งานเพื่อประโยชน์ของการลดการบาดเจ็บของการทำงาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    การบาดเจ็บจากการทำงานแบ่งได้เป็น ๒ แบบ คือ แบบเฉียบพลันและแบบค่อยเป็นค่อยไป๑. แบบเฉียบพลัน เช่น ยกวัตถุแล้วมีอาการบาดเจ็บของหลังทันที การบาดเจ็บแบบนี้ บอกได้ง่ายว่าเกิดจากการทำงานเพราะเกิดอาการทันทีในขณะที่ทำงาน ๒. แบบค่อยเป็นค่อยไป การบาดเจ็บแบบนี้ มักหาสาเหตุไม่ได้ คนทำงานจะบอกไม่ได้ว่าเกิดอาการขึ้นเมื่อใด อาการเจ็บป่วยเช่นนี้ทำให้มีปัญหามาก โดยเฉพาะการตัดสินว่าเกิดจากการทำงานหรือไม่ ...