-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
343
พฤศจิกายน 2550
นพ.บรรลุ ศิริพานิชการออกกำลังกายที่ถูกต้องการออกกำลังกายที่มีผลทำให้หัวใจและปอดทำงานมากขึ้น เรียกการออกกำลังนี้ว่าแอโรบิก (aerobic แปลว่า อากาศ) จึงมีการเรียกการออกกำลังกายด้วยการเต้นจนหัวใจและปอดทำงานมากขึ้นว่า การเต้นแอโรบิกการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ประกอบด้วย ๓ขั้นตอนดังนี้ขั้นตอนที่ ๑ การอุ่นร่างกายก่อนที่รถยนต์จะออกวิ่ง ควรมีการอุ่นเครื่องก่อนฉันใด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
นพ.บรรลุ ศิริพานิชอาหารและโภชนาการสุขภาพ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา ทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญทำให้คนเรา มีสุขภาพดี การที่เราสามารถเป็นคนอยู่ได้ทุกวันนี้ก็เพราะอาหาร ถ้าขาดอาหารเมื่อใดชีวิตก็ไม่สามารถที่จะอยู่ได้อาหารที่กินเข้าไปทุกวันนี้มีมากมายหลาย ชนิด แต่ถ้าจะจัดกลุ่มอาหาร มีนักวิชาการจัดอาหารออกเป็น ๕ กลุ่มใหญ่ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
340
สิงหาคม 2550
นพ.บรรลุ ศิริพานิชการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ(เตรียมตัวก่อนเกษียณอายุราชการ)ก่อนที่จะกล่าวถึงการเตรียมตัวจำเป็นจะต้องรู้ถึงกระบวนการเกษียณอายุการงานเสียก่อนเป็นพื้นฐาน๑.การเกษียณอายุการงานการเกษียณอายุการงาน หมายถึงการที่ต้องหยุดทำงานที่เคยทำอยู่เป็นประจำ เพราะเหตุอายุครบกำหนด ที่หน่วยงานนั้นกำหนดไว้ หรือหยุดทำงานนั้นๆ เพราะร่างกายไม่เหมาะสม เช่น ราชการไทยกำหนดเกษียณเมื่ออายุครบ ๖๐ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
339
กรกฎาคม 2550
โรคไข้หวัดใหญ่ โรคที่มากับสายฝนอันฉ่ำเย็น ทำให้ต้องล้มหมอนนอนเสื่อ เสียงานเสียเงิน แต่ทุกวันนี้ไข้หวัดใหญ่สามารถป้องกันได้ด้วย "วัคซีน"วัคซีนไข้หวัดใหญ่กับผู้สูงอายุโดยปกติในหน้าฝน อัตราการติดเชื้อของ ไข้หวัดใหญ่จะเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ ๕๕ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
338
มิถุนายน 2550
นพ.บรรลุ ศิริพานิชอายุยืนยาว ตอนที่แล้วพูดถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ และอายุเฉลี่ยของคนไทย... มาดูกันว่าคนเราอายุยืนยาวเพราะอะไร ก่อนที่จะพูดถึงเหตุที่ทำให้คนเราอายุยืนยาวมาดูกันก่อนว่าประชากรโลกและจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเท่าใด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
337
พฤษภาคม 2550
นพ.บรรลุ ศิริพานิช วิถีชีวิตมนุษย์เมื่อ ๓ ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยมีผู้สนใจศึกษาเรื่องราวของผู้สูงอายุค่อนข้างน้อย การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่เชิงวิทยาศาสตร์เกือบจะไม่มีเลย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะจำนวนประชากรสูงอายุของไทยก่อนปี พ.ศ.๒๕๒๐ ยังมีไม่มาก ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงไม่ค่อยปรากฏ เนื่องจากความก้าวหน้าทางด้านสาธารณสุขส่งผลให้ประชากรไทยมีอัตราการตายลดลง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
337
พฤษภาคม 2550
หลักทั่วไปในการใช้ยาในผู้สูงวัยภก.ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ กองควบคุมยาด้วยกฎแห่งธรรมชาติ สรรพสิ่งย่อมเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา มนุษย์เราก็เช่นกันยามที่เราแก่ตัวลง...ร่างกายก็เริ่มเสื่อมถอย หูไม่ค่อยได้ยิน สายตาฝ้าฟาง เดินเหินไม่คล่อง หนำซ้ำความจำยังเลอะเลือนอีกด้วย ว่าไปแล้ว "คนแก่" หรือที่เรียกอย่างสุภาพว่า "ผู้สูงวัย" นั้นไม่มีอะไรดีเลย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
336
เมษายน 2550
สถานบริบาลผู้สูงอายุคืน "อุ่นไอ"ไม่ให้พ่ายโรคร้ายช่วงวัยที่ร่วงโรย ได้เปิดโอกาสให้โรคร้ายต่างๆ ทั้งแบบขาประจำและขาจรเข้ามาเยี่ยมเยือน ไม่ขาดสาย ถึงอย่างนั้นใช่ว่าคนชราจะมัวแต่ตั้งรับรอโรคร้ายรุมเร้าเสียทุกคน มีจำนวนไม่น้อยได้พยายามเพิ่มความกระฉับกระเฉง ความแข็งแรงของร่างกายและเติมเต็มความ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
328
สิงหาคม 2549
ธุรกิจสุขภาพปัจจุบันธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพกลายเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากร้อยละ ๑๐ ของคนไทยอายุยืนขึ้น แต่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพแย่ลง ขาดการออกกำลังกาย กินอาหารเกินความจำเป็น สิ่งแวดล้อมก็แย่ลง มลพิษก็มากขึ้น ซึ่งจัดเป็นพฤติกรรมที่บั่นทอนสุขภาพมาก จุดนี้ทำให้คนไทยที่มีอายุมากขึ้นเริ่มมีปัญหาด้านสุขภาพ กลายเป็นผู้สูงอายุที่มีร่างกายอ่อนแอ อนาคตคนไทยจะเผชิญกับปัญหาการดูแลผู้สูงอายุ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
327
กรกฎาคม 2549
ปวดคอ...ปวดหลังหากบ้านใดมีผู้สูงอายุคงจะได้ยินคำบ่นของปู่ ย่า ตา ยาย อยู่บ่อยๆ ในเรื่องปวดคอปวดหลัง แต่จะมีสักกี่คนที่รู้สาเหตุและวิธีรักษาอย่างถูกต้อง สาเหตุ อาการปวดคอปวดหลังนั้น มีสาเหตุหลักด้วยกัน ๓ ประการ๑.ท่าทางผิดสุขลักษณะ เนื่องจากหลายคนมีกิจวัตรประจำวันที่จะต้องอยู่ในท่าทางบางลักษณะนานๆ ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นมีการหดเกร็งนำมาซึ่งอาการปวดได้ เช่น ...