ความดันโลหิตสูง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    เมื่อปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผมพานักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๓ กลุ่มหนึ่งไปฝึกงานในหมู่บ้านของตำบลเต่าเล่า อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นักศึกษากลุ่มนี้ได้ลองทำการสำรวจโรคความดันเลือดสูง โดยตรวจวัดความดันเลือดของประชาชนตามบ้านต่างๆ ในวันเดียวตรวจพบผู้ที่เป็นความดันเลือดสูง (มีค่าความดันตัวบนตั้งแต่ ๑๔๐ มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือความดันตัวล่างตั้งแต่ ๙๐ มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป) ๒๘ คน จากจำนวน ๕๕ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ผมเป็นโรคความดันเลือดสูงมาร่วม ๑๐ ปีแล้วครั้งแรกที่ตรวจพบนั้น ไม่ได้มีอาการผิดปกติแต่อย่างใด เพียงแต่ช่วงใกล้เพลวันหนึ่งผมเดินผ่านซุ้มแสดงเครื่องมือแพทย์ในงานนิทรรศการวิชาการ ก็ลองให้เขาใช้เครื่องมือรุ่นใหม่วัดความดันดู ปรากฏว่าขึ้นไป ๑๕๐/๑๑๐ มม.ปรอท ซึ่งจัดว่าสูง เพราะในผู้ใหญ่ค่าความดันปกติต้องต่ำกว่า ๑๔๐/๙๐ มม.ปรอท ตกเย็นกลับมาบ้านใช้เครื่องที่มีอยู่ในบ้านวัดใหม่อีกครั้ง คราวนี้วัดได้เพียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    การสำรวจเรื่อง การควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด"คุณป้าแกอายุประมาณ ๖๗ ปีได้กระมัง วันหนึ่งอยู่ดีๆ แกก็บ่นว่าเจ็บหน้าอก หายใจไม่คล่องหลังจากนั้นไม่นานแกก็นิ่งไป ไม่รู้สึกตัว ประมาณอีกไม่ถึงชั่วโมงแกก็ตาย ญาติๆ แกยังไม่ทันได้ตั้งตัว ทั้งที่ก่อนหน้านี้แกยังดีๆ ก็มาเสียชีวิตอย่างนี้ " เป็นคำบอกเล่าของชาวบ้านคนหนึ่งในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในจังหวัดสุพรรณบุรี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 304 สิงหาคม 2547
    ความดันเลือดสูง : ภัยเงียบยุคใหม่ความดันเลือดสูงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคนไทย เพราะความดันเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของหญิงไทย และอันดับสองของชายไทยตามลำดับ นอกจากนี้ความดันเลือดสูงยังเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ4 ของหญิงไทย และอันดับ6 ของชายไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๒)ตอนที่แล้วได้พูดถึงสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของสหรัฐอเมริกา ในตอนนี้มาดูวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของชาวยุโรปกันดีกว่า ที่เรียกว่าระบบ SCORE อีกวิธีหนึ่งที่น่าจะใช้ได้กับคนไทยอย่างเหมาะสมกว่าคือ วิธีการประเมินความเสี่ยงรวม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๑)ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของคนไทย ทุกๆ ชั่วโมงจะมีคนไทยตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ๕ คน ตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ๒ คน ตายจากเบาหวาน ๒ คน สาเหตุที่สำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือดเกิดจากการแข็งและตีบตันของหลอดเลือดแดง(atherosclerosis) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 287 มีนาคม 2546
    ความดันเลือดสูง* ชื่อภาษาไทย: ความดันเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ความดันสูง*ชื่อภาษาอังกฤษ: Hyper tension (ไฮเพอร์เทนชั่น), High blood pressure (ไฮบลัดเพรสเช่อร์)*สาเหตุ: โรคนี้แบ่งเป็น ๒ ชนิด ซึ่งมีสาเหตุต่างกัน ดังนี้๑.ความดันเลือดสูงชนิดปฐมภูมิ (primary hypertension) หมายถึง ความดันเลือดสูงที่ไม่พบโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ...ในบรรดารสเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม รสหวานดูจะเป็นรสชาติที่ผู้คนติดใจกันมากที่สุด ตั้งแต่ลูกเล็กเด็กแดงไปจนกระทั่งผู้เฒ่าผู้แก่ ความหวานก็นับเป็นสุนทรียรสของชีวิตอย่างหนึ่ง ถ้าเราสามารถควบคุมการกินให้อยู่ในปริมาณที่พอดีได้แต่ในความเป็นจริง คนส่วนใหญ่มักหลง เพลิดเพลินกับความหวานนานารูปแบบ เกินความต้องการของร่างกาย จนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคและปัญหาสุขภาพตามมามากมาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 281 กันยายน 2545
    เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (๑)"ด้วยความรู้ในปัจจุบัน เราสามารถสร้างโลกที่ปราศจากการคุกคามจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในโลกเช่นนั้นการป้องกันเกิดขึ้นนับแต่วันแรกเริ่มของชีวิตทุกคนจะมีชีวิตที่เปี่ยมด้วยสุขภาพ ได้หายใจอากาศที่ปลอดควันบุหรี่ได้กินอาหารที่ถูกหลักอนามัย หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอได้อาศัยและทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 279 กรกฎาคม 2545
    ถาม-ตอบ ๓ เรื่องช่วงนี้มีโอกาสรับเชิญไปบรรยายความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพแก่ประชาชนหลายกลุ่มคำถามที่ผู้เข้าฟังบรรยายชอบถามกันบ่อย ซึ่งพอจะประมวลสัก ๓ ประเด็น ก็คือ๑.การกินอาหารเสริม หรือยาบำรุงสำเร็จรูปต่างๆ จะช่วยป้องกันโรค และช่วยให้อายุยืนจริงหรือไม่สะท้อนถึงความเชื่อที่ว่า สุขภาพขึ้นกับวิธีการใด วิธีการหนึ่งโดยเฉพาะ จนถึงกับยอมซื้อหามาบริโภค ด้วยราคาแพง ...