กรณีศึกษา

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    การแพทย์ตะวันตกในศตวรรษที่ 20 จากจุดเปลี่ยนของการแพทย์ตะวันตกในศตวรรษที่ 16-17 ซึ่งมีการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์และมีการพัฒนาของวิชาเคมีเรื่อยมาจนถึงศตวรรษที่ 18-19 วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้พัฒนาไปสู่ยุคเซลล์วิทยาและและจุลินทรีย์วิทยา อย่างไรก็ตาม วิธีการศึกษาก็ยังคงเป็นแบบเจาะลึก ไม่สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายได้ในศตวรรษที่ 20 การแพทย์ตะวันตกได้แยกสาขาย่อยออกไปอีก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    ไปเบิ่งแพทย์ลาวที่เวียงจันทน์อาจารย์หมอศัลยเวทย์ เลขะกุล เลขาธิการมูลนิธิ หู คอ จมูกชนบท ได้กรุณาโทรศัพท์มาชวนผมให้ไปเบิ่ง (ดู) ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของลาว โดยอาจารย์บอกว่าคณะของอาจารย์เพิ่งเดินทางกลับมาจากเวียงจันทน์ ได้ไปทำการผ่าตัด ตรวจรักษาทางหู ดั่ง (จมูก) คอ ร่วมกับแพทย์ลาวมา และได้ทำความรู้จักกับแพทย์ของลาวหลายท่านในหลายหน่วยงาน จึงมีความคิดขึ้นมาว่า หากได้นำคณะอาจารย์แพทย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    อังกฤษรณรงค์ไม่ดื่มเนสกาแฟนิตยสาร NI (The New Internationalist) ซึ่งตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษ ได้ตีพิมพ์ประกาศของกลุ่มเบบี้ มิ้ลค์ แอคชั่น (Baby Milk Action) รณรงค์ให้ประชาชนไม่ดื่มเนสกาแฟเพื่อประท้วงบริษัทเนสท์เล่ที่ละเมิดกฎเรื่องเผยแพร่การจำหน่ายนมผงการรณรงค์ครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากบริษัทเนสท์เล่ซึ่งเป็นผู้ผลิตนมผงสำหรับเลี้ยงทารกรายใหญ่ของโลก ถูกกล่าวหาว่าได้ทุ่มแจกนมผงแก่โรงพยาบาลต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    การแพทย์ตะวันตกคอลัมน์ “การแพทย์แผนตะวันออก” ที่ผู้เขียนเขียนอยู่ในช่วง 2-3 ครั้งนี้ จำเป็นต้องปูพื้นประวัติศาสตร์ของการพัฒนาของการแพทย์ตะวันออกและตะวันตก ซึ่งค่อนข้างจะเป็นวิชาการ แต่มีความจำเป็นที่จะต้องค้นคว้าเพื่อนำมาเสนอแก่ผู้อ่าน เพื่อปูพื้นไว้เมื่อพูดถึงตอนต่อๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    เฝือกบีบรัด...สถานการณ์ฉุกเฉินหนุ่มน้อยนอนบนเตียงรถเข็น ขาขวาห่อหุ้มด้วยเฝือกจากปลายนิ้วเท้าถึงโคนขา นิ้วเท้าส่วนที่โผล่พ้นขอบเฝือกบวมเป่ง ปลายเล็บเขียวคล้ำ ตรวจดูแล้วพบว่า การไหลเวียนเลือดที่นิ้วเท้าไม่ดี เมื่อบอกให้เขาขยับนิ้วเท้า เขาทำไม่ได้ จึงจับปลายนิ้วเขากระตุกขึ้นลง“ไม่ปวดหรือ” ผมถาม เมื่อเห็นสีหน้าเขาเฉยไม่แสดงอาการเจ็บปวด“ตอนแรกเจ็บมาก ตอนนี้มันชาไปหมด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    คุณธรรมสำคัญไฉนระยะนี้มีผลสะท้อนทางการเมืองระดับโลกจากประเทศผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ยืนยันสัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ว่า ผู้ใดชื่นชมธรรม เทิดทูนธรรม ผู้นั้นจะเจริญรุ่งเรือง ส่วนผู้ชิงชังธรรม หันหลังให้ธรรม เขาจะเสื่อมทราม ตกอับ และดับสูญ“ธมฺมกาโม ภวํโหติ ธมฺม เทสฺสี ปราภโว”แสดงว่า สัจธรรมต้องเป็น “อกาลิโก” ทนต่อการพิสูจน์ทุกกาล ทุกสมัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 120 เมษายน 2532
    คุณคงไม่ปฏิเสธว่า การตะโกนดัง ๆ นาน ๆ ก็สามารถทำให้เสียงของคุณแหบได้ เพราะอาการอย่างนี้อาจเคยเกิดขึ้นกับคุณมาแล้วเช่นกัน การตะโกนดัง ๆ ทำให้จังหวะการหายใจผิดปกติและกล้ามเนื้อที่กล่องเสียงถูกใช้งานมากเกินไป เราจะพบอาการอย่างนี้ได้บ่อย ๆ โดยเฉพาะกับผู้ที่เป็นครูบาอาจารย์ หรือบรรดาแฟนฟุตบอลทั้งหลายการสูบบุหรี่ การที่ต้องอยู่ในบรรยากาศที่มีฝุ่นละออง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    คุณเคยพบตัวเองอยู่ในอาการเช่นนี้หรือไม่ เมื่อได้ยินใครพูดล้อเล่นแรง ๆ หรือพูดนินทาถึงตัวเอง และเกิดอาการโกรธ ริมฝีปากสั่น ลิ้นแข็ง ขากรรไกรค้าง ลำคอเปล่งเสียงไม่ออก หรือที่บางครั้งเราล้อกันว่าโดนว่าแค่นี้ “ลิ้นจุกปาก” เลยหรือ คุณทราบหรือไม่ว่าอาการเช่นนั้นเกิดจากอะไรเมื่อคนเรารับฟังเสียงหรือคำพูดต่าง ๆ ผ่านทางหู (ตำแหน่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ชายคนนี้เคยได้รับการผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหารมาก่อน บาดแผลเกิดการอักเสบและเนื้อติดกันไม่ดี เมื่อแผลหายผนังหน้าท้องในบริเวณนี้จึงอ่อนแอ มีลักษณะโป่งออกเหมือนลูกโป่ง โดยเฉพาะเวลายืน นั่ง หรือเวลาไอเมื่อหน้าท้องโป่งออกเป็นกระเปาะแบบนี้ ย่อมเปิดโอกาสให้ลำไส้ที่ขดอยู่ภายในช่องท้องไหลเลื่อนลงมาในกระเปาะนี้ได้ จึงเรียก ไส้เลื่อน (hernia) แต่เป็นไส้เลื่อนที่เกิดจากการผ่าตัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    เมื่อเวลาคุณมีเหงื่อออก คุณคงเคยรู้สึกรำคาญ เพราะไม่เพียงแต่ทำให้ร่างกายเปียกชื้น บางครั้งยังมีกลิ่นร่วมด้วยเหงื่อออกมาทำไมนะ เราคงรู้สึกจากตัวเองได้ว่า เวลาอากาศร้อนเหงื่อจะออก แต่เวลาอากาศหนาวจะไม่มีเหงื่อ ถ้าพูดง่าย ๆ ก็คือ เหงื่อเป็นตัวช่วยลดอุณหภูมิของร่างกายเมื่อความร้อนของร่างกายเราสูงกว่าปกติ เช่น เวลาอากาศร้อนอบอ้าว ออกกำลังกายมาก ๆ ถ้าไม่มีระบบนี้ ...