กรณีศึกษา

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    ฉบับที่แล้วได้พูดถึงอาการปวดนิ่วในท่อไต ว่าจะมีลักษณะปวดบิดเกร็งเป็นพักๆ ตรงแถบซ้ายหรือขวาของท้อง และปวดร้าวลงมาที่ลูกอัณฑะ (ในผู้ชาย) หรือช่องคลอด(ในผู้หญิง)และปวดร้าวไปที่หลังนิ่วในถุงน้ำดี ก็มีลักษณะปวดบิดเกร็งเป็นพักๆ ในลักษณะเดียวกันผิดกันตรงตำแหน่งที่ปวด คือนิ่วในถุงน้ำดีจะปวดตรงบริเวณใต้ชายโครงข้างขวา หรือบริเวณใต้ลิ้นปี่ซึ่งอาจปวดร้าวไปที่กลางหลัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำ “ถ้าไม่จนใจจริง ๆ ผมจะไม่รีเฟอร์คนไข้เข้ากรุงเทพ ฯ เป็นอันขาด เพราะโรงพยาบาลของรัฐบาลแทบทุกแห่งจะบอกว่าไม่มีเตียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ในปัจจุบัน โลกทั้งโลกได้หมุนไปตามทิศทางแห่ง“ สุขภาพดีทั่วหน้าภายในปี 2543” ได้เกิดความตื่นตัวและการเคลื่อนไหวในวงการแพทย์และสาธารณสุขใหม่ๆ ผู้เขียนขอทำหน้าที่คอยนำเอาเรื่องราวเหล่านั้นมาเล่าสู่กันฟัง และยินดีรับฟังความคิดเห็นและข้อเท็จจริงจากผู้อ่าน มีข้อเสนอแนะประการใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    นิ่ว คือ ก้อนหินปูนเล็ก ๆ คล้ายก้อนกรวดก้อนทรายที่เกิดขึ้นในร่างกายของคนเรา ซึ่งถือว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง นิ่วอาจเกิดอยู่ในถุงน้ำดี ในไต ท่อไต หรือกระเพาะปัสสาวะก็ได้ ทำให้มีอาการเจ็บปวด และอาการอื่นๆ ที่แตกต่างกันไป แล้วแต่ตำแหน่งที่เป็นฉบับนี้เรามาพูดถึง อาการปวดนิ่วในท่อไตกันดีไหมครับ?ลองติดตามบทสนทนาระหว่างหมอกับคนไข้ดังต่อไปนี้ดูซิครับ“คุณหมอครับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    เมื่อเดือนที่แล้วข่าวเด็กหญิง สร้อยเพชร บุญน้อย ตกลงในท่อเสาเข็มที่บริเวณ ก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลทหารผ่านศึก เป็นข่าวไปทั้งประเทศ การที่เด็กตกท่อสะท้อนภาพหลายอย่างในประเทศไทย หรือสะท้อนภาพประเทศไทยให้เห็นทั้งประเทศก็ว่าได้ ถ้าเรามองสรรพสิ่งทั้งหลายให้เชื่อมโยงกันเด็กลูกคนงานก่อสร้างนั้นได้รับอันตรายอย่างอื่นอีกด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำบางครั้งเมื่อเราพาคนไข้ที่มีอาการหนักไปโรงพยาบาล หมอตรวจแล้วอาจสั่งพยาบาลว่า “คนไข้รายนี้จำเป็นต้องแอดมิต คุณช่วยโทรถามทางวอร์ด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    ถ้าคุณผู้อ่านอยู่ ๆ ก็รู้สึกผิวหนังดำคล้ำกว่าปกติหรือมีรอยดำ ๆ เป็นบางจุด หรือเหงือกดำ ปากดำ ลิ้นดำ ดังในภาพข้างบนนี้ ก็จงอย่านิ่งนอนใจ คุณอาจกำลังเป็น โรคแอดดิสัน (Addison’s discase) ก็ได้โรคนี้เกิดจากต่อมหมวกไต ผลิตฮอร์โมนได้น้อยกว่าปกติ ทำให้ผิวหนังและเยื่อเมือกต่าง ๆมีสีดำคล้ำถ้าเป็นเพียงนิดหน่อย ก็คงไม่เป็นอะไร แต่คนที่เป็นโรคนี้ จะมีอาหารอ่อนเพลีย หมดเรี่ยวหมดแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    ทางเดินของอาหารในร่างกายเราเริ่มจากปากไปสุดที่ทวารหนัก ทางเดินนี้เปรียบได้กับท่อกลวงที่มีปลายเปิดออกทั้งสองข้าง เริ่มจากปาก ช่องปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ และทวารหนัก อาหารที่เรากินเข้าไปถูกส่งผ่านไปในท่อดังกล่าวตามลำดับก่อนหลัง อาหารเมื่อผ่านลำไส้เล็กไปแล้วก็จะเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ลำไส้ใหญ่ขนาดใหญ่กว่าลำไส้เล็กสมชื่อ เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างลำไส้เล็กกับปากทวารหนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำอี.อาร์. เป็นคำเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า ER ซึ่งย่อมาจากคำว่า Emergency room แปลว่า ห้องปัจจุบัน พยาบาลบางแห่งเรียกว่า ห้องฉุกเฉิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ลิ้นกับฟันเป็นของคู่กัน ทั้งคู่เป็นอวัยวะที่อยู่ใกล้ชิดกันและทำงานประสานกัน เพื่อแปลงรูปอาหารที่จะเข้าสู่ร่างกายให้เหมาะสมที่ร่างกายจะย่อยเอาไปใช้ เมื่อใดที่ฟันทำงานลิ้นก็จะช่วยโดยอัตโนมัติ คุณเคยสังเกตบ้างไหมว่าเวลาแทะข้าวโพด ทันทีที่เมล็ดข้าวโพดเข้าสู่โพรงปาก ลิ้นก็จะม้วนตวัดเอาเมล็ดข้าวโพด ป้อนเข้าสู่ฟันกรามด้านในเพื่อบดให้ละเอียด ในขณะที่ฟันกำลังทำหน้าที่ของมัน ...