กรณีศึกษา

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 11)ความฝันเป็นอาการอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในขณะหลับ มีผู้สนใจพยายามศึกษามากมายว่าทำไมคนจึงฝัน มีสาเหตุที่เกี่ยวกับร่างกายหรือจิตใจหรือไม่ ทำไมบางคนถึงจำความฝันได้มาก บางคนจำความฝันได้น้อย แต่ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับความฝันก่อนดีกว่า4. การฝัน (dreaming) คือ การนึกเห็นเป็นเรื่องราวในขณะหลับ บางคนถือว่าการฝันเป็นอาการหลอนอย่างหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 10)ในครั้งก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการนอนไม่หลับ หลับมาก หรือง่วงเหงาหาวนอนมาก และวิธีการตรวจรักษาไว้แล้ว ในครั้งนี้และฉบับต่อๆไปจะกล่าวถึงอาการที่เกิดร่วมกับการหลับอาการที่เกิดร่วมกับการหลับ (parasomnias) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นในขณะหลับ อาจจะปกติหรือผิดปกติก็ได้ ถ้าผิดปกติอาจเรียกว่าอาการผิดปกติขณะหลับ (dyssomnias) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    กว่าจะเป็นนางงามเมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ท่านผู้อ่านหลายท่านคงยังจำบรรยากาศอันน่าชื่นตาชื่นใจได้เหมือนผมที่ได้เห็นกลุ่มสาวงามที่งามที่สุดจำนวนหนึ่งของประเทศไทย มาปรากฏโฉมให้พวกเราได้ชมทางจอโทรทัศน์ แต่ละคนล้วนสวยงาม โดยเฉพาะใบหน้าและรอยยิ้มที่ประทับใจผู้ชม ทุกคนล้วนยิ้มกันได้อย่างกว้างขวาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ตับอักเสบเพราะหมอทำนักระบาดวิทยาสามารถระบุว่า การผ่าตัดที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อชนิดนี้มากที่สุด คือ การผ่าตัดเอามดลูกออก (พบโอกาสที่ผู้ป่วยติดเชื้อจากแพทย์รายนี้ถึงร้อยละ 24)โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัส บี เป็นโรคติดเชื้อที่มีลักษณะการติดต่อเหมือนโรคเอดส์ คือ ติดต่อโดยการร่วมเพศ โดยการให้เลือด การได้รับเลือด หรือน้ำเหลืองที่มีเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย การผ่าตัดหรือถูกของมีคมที่เปื้อนเลือด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    เมื่อไหร่คุณควร “ปฏิเสธ” การผ่าตัดโดยปกติแล้วแพทย์ของคุณ คือ คนแรกที่จะให้คำแนะนำและข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัด แต่ท้ายสุด “คุณ” ต่างหากที่ต้องตัดสินใจว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการผ่าตัดครั้งนี้จะคุ้มค่ากับการเสี่ยงของคุณหรือไม่ ลองมาดูกันซิว่า เมื่อไหร่คุณถึงควรจะปฏิเสธการผ่าตัด“คุณสำออยครับ ลูกคุณเป็นทอนซิลอักเสบเฉียบพลันถึง 4 ครั้งแล้วในรอบปีนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    สะพานข้อมูลไทย-ลาวในครั้งที่แล้วผมได้เกริ่นเอาไว้ถึงระบบเฝ้าระวังโรคของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ว่าเขามีความพยายามที่จะเริ่มทำแบบใหม่ แต่ไม่สำเร็จ ผมก็พยายามวิเคราะห์ว่าต้องมีปัญหาอะไรแน่ จึงทำให้การริเริ่มหลายครั้งหลายครา ประสบความล้มเหลวปัจจัยหลักที่ผมคิดว่าเป็นไปได้มาก คือ ผู้เชี่ยวชาญที่มาเป็นที่ปรึกษาให้เขา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    การเตรียมพร้อมในสงครามต้านเอดส์ในระยะนี้ใครๆ ก็พูดถึงการต่อสู้และการทำสงครามกับโรคเอดส์กัน ทั้งนี้คงเนื่องมาจากโรคนี้เป็นโรคแห่งความตายที่ยังไม่มียารักษาและมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะที่ผ่านมา ไหนๆ ก็ต้องต่อสู้หรือทำสงครามกับโรคเอดส์แล้ว ก็หวังที่จะได้ชัยชนะ และการจะได้มาซึ่งชัยชนะ ก็คงต้องมีการเตรียมพร้อมที่ดี จึงขอถือโอกาสนี้เสนอการเตรียมพร้อมที่จำเป็น 5 ประการด้วยกัน คือ1. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    สะพานข้อมูลไทย-ลาวสำหรับคอลัมน์กันไว้ดีกว่าแก้ฉบับนี้ของหมอชาวบ้าน ผมขออนุญาตพาท่านผู้อ่านออกนอกเรื่องอีกสักฉบับนะครับ คือ ต้นฉบับนี้เขียนขึ้นในขณะที่ผมรับมาทำหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญระยะสั้นให้แก่องค์การอนามัยโลก ระหว่างวันที่ 1-31 สิงหาคม 2531 ณ นครเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ซึ่งมีคำขวัญของประเทศว่า (เป็นตัวอักษรลาวค่ะ) แปลเป็นไทยว่า “สันติภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    ไปเบิ่งแพทย์ลาวที่เวียงจันทน์ (ตอนจบ)คณะของเราพักค้างคืนที่สถานทูตไทย โดยได้รับความกรุณาและความเป็นกันเองจากท่านทูตนิรันดร์ ภาณุพงษ์ ซึ่งเป็นน้องชายของอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ดร.อรุณ ภาณุพงษ์ ตลอดระยะเวลาที่ได้นั่งฟังท่านทูตพูดคุยกับอาจารย์หมอประดิษฐ์ เราก็ได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลาวหลายเรื่อง ท่านทูตเล่าให้ฟังว่า ทรัพยากรทางธรรมชาติในลาวยังมีอีกมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    โรค หรือ อาการ“คุณหมอครับ โรคดีซ่านกับโรคตับอักเสบ ใช่เป็นโรคเดียวกันหรือเปล่าครับ”“คุณหมอคะ โรคหอบกับโรคหืด ใช่เป็นโรคเดียวกัน หรือเปล่าคะ”มีอยู่บ่อยครั้งที่หมอจะถูกผู้ป่วยถามด้วยคำถามทำนองนี้คำตอบก็คือ ดีซ่านไม่ใช่โรคตับอักเสบ แต่เป็นอาการหนึ่งของโรคตับอักเสบหอบไม่ใช่โรคหืด แต่เป็นอาการหนึ่งของโรคหืดหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ คำว่า “ดีซ่าน” และ ...