อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    เดือนตุลาคมในความทรงจำของสังคมไทย คือเดือนแห่งการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยที่ไหนๆ ก็มีการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และคงจะมีการต่อสู้เรื่อยไปให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น แสดงว่าประชาธิปไตยเป็นอะไรที่มนุษย์ไขว่คว้า แสวงหา และคงจะเป็นสิ่งที่อำนวยความสุขหรือสุขภาวะมนุษย์ไม่ชอบความบีบคั้นความบีบคั้นคือความทุกข์ อิสรภาพจากความบีบคั้นคือความสุข ประชาธิปไตยคือการหลุดพ้นจากความบีบคั้น คือสุขภาวะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    การประชุมวิชาการครบรอบ 15 ปีสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ปัญหาและผลกระทบจาก "โลกร้อน" มีการพูดคุยกันมากเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะผลกระทบด้านสุขภาพศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ประธานมูลนิธิการศึกษาไข้หวัดใหญ่ กล่าวว่า การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้น้ำแข็งละลาย กลายเป็นแหล่งน้ำ และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง ซึ่งไม่เคยพบในพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 9,000 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    อันพวกเราเหล่านักเรียนพยาบาล ปณิธานอนุกูลเพิ่มพูนผล เรียนวิชากรุณาช่วยปวงชน ผู้เจ็บไข้ได้พ้นทุกข์ทรมาน แม้โรคร้ายจะแพร่พิษถึงปลิดชีพ จะยึดหลักดวงประทีปคือสงสาร ยอมเหนื่อยยากตรากตรำใจสำราญ อุทิศงานเพื่อคนไข้ทั้งใจกายคือส่วนหนึ่งของบทเพลงมาชร์นักเรียนพยาบาล ซึ่งซึมซับอยู่ในความเป็นพยาบาลของทุกคนการขาดแคลนพยาบาลในขณะที่ความต้องการพยาบาลมีมากขึ้น เพราะคนไข้มากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    ผู้ชายกับผู้หญิงไม่เหมือนกัน ฮอร์โมนเพศชายคือเทสโทสเทอโรนกระตุ้นให้ผู้ชายโลดแล่นไปและรุนแรง ฮอร์โมนเพศหญิงคือเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนเตรียมให้ผู้หญิงมีธรรมชาติของความเป็นแม่ คือปกป้องคุ้มครอง อะไรที่ยิ่งใหญ่และปกป้องคุ้มครองจึงมีธรรมชาติเป็นแม่มีคำเรียกขานว่า พระแม่ธรรมชาติ (mother nature) พระแม่ธรณี (mother earth) พระแม่คงคา แม้แต่บางทีเป็นเพศชายยังเรียกว่าแม่ก็มี เช่น แม่ทัพแม่ที่ไหนๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    สำนักงานสถิติแห่งชาติเปิดเผยข้อมูลที่น่าวิตกว่า ประเทศไทยมีจำนวนประชากรผู้พิการถึง 1.9 ล้านคน จากประชากรทั้งหมดกว่า 60 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 10 ผู้ป่วยจำนวนหนึ่งสามารถรักษาให้กลับเป็นปกติ หรือใกล้เคียงปกติได้ ขณะที่ผู้ป่วยอีกจำนวนหนึ่งที่แม้ว่าจะช่วยชีวิตได้ แต่การบาดเจ็บของไขสันหลังมีความรุนแรงมากจนต้องกลายเป็นอัมพาตรองศาสตราจารย์เรือเอก นพ.ชลเวช ชวศิริ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    คนจำนวนไม่มากนักจะมี "โอกาส" ได้เข้าไปอยู่ในห้อง "ไอซียู" (Intensive Care Unit - ICU - หรือ "หอผู้ป่วยวิกฤติ" สำหรับคนจำนวนหนึ่ง ห้องไอซียู คือ "ห้องนอนสุดท้าย" ของชีวิต แต่คนอีกจำนวนหนึ่งก็กลับออกมาใช้ชีวิตปกติต่อไปได้ และฉบับที่แล้วพูดถึงการเตรียมตัวผ่าตัดและพักฟื้นอยู่ในห้องไอซียูวันที่ยาวนานที่สุด (11 กันยายน)วันนี้ไม่ง่วงและพยายามไม่หลับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    คนที่ใกล้ชิดกับคนไข้ที่นอนรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลมากที่สุดคือ พยาบาล ซึ่งให้การดูแลตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืนพยาบาลให้การรักษาพยาบาลร่วมกับแพทย์ปฏิบัติการต่อคนไข้ต่างๆ พยาบาลมีส่วนมากกว่าแพทย์เสียอีก ไม่ว่าจะเป็นการแทงเข็มเข้าเส้นเลือด เพื่อเจาะเลือดไปตรวจ การให้น้ำเกลือ การให้เลือด การฉีดยา กินยา ให้ออกซิเจน ทำแผลการดูแลอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการป้อนอาหาร ให้อาหารทางท่อ ดูแลการขับถ่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    ระยะเริ่มมีประจำเดือน คือช่วงเข้าสู่วัยรุ่นประมาณ 9-13 ปี และหมดไปเมื่ออายุประมาณ 48-52 ปีประจำเดือนจะมาประมาณ 3-5 วัน ไม่เกิน 7 วัน ใช้ผ้าอนามัยประมาณ 3-4 แผ่น มักจะมามากในวันที่ 2 ของรอบเดือนบางคนอาจจะมีอาการปวดท้อง เรียกว่าปวดระดู บางคนอาจจะไม่มีอาการปวดเลย บางคนอาจจะปวดมาก ถ้าผิดจากนี้อาจจะเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    คนจำนวนไม่มากนักจะมี "โอกาส" ได้เข้าไปอยู่ในห้อง "ไอซียู" (Intensive Care Unit - ICU - หรือ "หอผู้ป่วยวิกฤติ") สำหรับคนจำนวนหนึ่ง ห้องไอซียู คือ "ห้องนอนสุดท้าย" ของชีวิต แต่คนอีกจำนวนหนึ่งก็กลับออกมาใช้ชีวิตปกติต่อไปได้ผมเป็นหนึ่งในจำนวนคนกลุ่มหลังนี้ และเห็นว่า "ประสบการณ์ชีวิตจากห้องไอซียู" คงเป็นประโยชน์ที่จะนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    การไม่มีเวลานั้นประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งคือความไม่เท่าเทียมกันการสื่อสารขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ คนมีอำนาจมากกว่าไม่ค่อยอยากสื่อสารกับคนที่มีอำนาจน้อยกว่า ในสังคมชนชั้นที่ผู้คนในสังคมขาดความเสมอภาคจะมีทุกขสัมพันธ์ เพราะขาดการเคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นคนของคนทุกคนอย่างเท่าเทียมกันการขาดการเคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นคนของคนทุกคนอย่างเท่าเทียมกันนำไปสู่สิ่งไม่ดีนานัปการ เช่น ...