คู่มือดูแลสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ลิ้นกับฟันเป็นของคู่กัน ทั้งคู่เป็นอวัยวะที่อยู่ใกล้ชิดกันและทำงานประสานกัน เพื่อแปลงรูปอาหารที่จะเข้าสู่ร่างกายให้เหมาะสมที่ร่างกายจะย่อยเอาไปใช้ เมื่อใดที่ฟันทำงานลิ้นก็จะช่วยโดยอัตโนมัติ คุณเคยสังเกตบ้างไหมว่าเวลาแทะข้าวโพด ทันทีที่เมล็ดข้าวโพดเข้าสู่โพรงปาก ลิ้นก็จะม้วนตวัดเอาเมล็ดข้าวโพด ป้อนเข้าสู่ฟันกรามด้านในเพื่อบดให้ละเอียด ในขณะที่ฟันกำลังทำหน้าที่ของมัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    “ยาละลายนิ่ว” จัดเป็นยาที่อยู่ในความสนใจของคนทั่วไปมาก เพราะหมายถึงว่าสามารถที่จะเลือกใช้ยาไปละลายก้อนนิ่วในถุงน้ำดี แทนที่จะรักษาด้วยการผ่าตัด ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัวและเจ็บตัวมากกว่ายาละลายนิ่วที่ผลิตออกจำหน่ายในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ CDCA (Chenodeoxycholic acid) ซึ่งออกจำหน่ายมาก่อนหลายปีแล้ว และ UDCA(Ursodeoxycholic acid) เพิ่งออกจำหน่ายใช้ในขนาดต่ำกว่า CDCA ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    “ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึงอาการปวดหัวของคนไข้แบบฉุกเฉิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ชั้นนอกสุดของร่างกายเราเป็นเปลือกเรียบ คลุมอวัยวะภายในร่างกายทั้งหมดเอาไว้ เราเรียกอวัยวะนี้ว่าผิวหนัง ส่วนที่รวมเรียกว่าผิวหนังนั้นยังหมายถึงสิ่งที่งอกออกจากผิวหนังด้วยเช่น ผม เล็บ และขน ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดในร่างกายของเรา ถ้าเอาผิวหนังทั้งตัวมาแผ่รวมกันเราจะได้ผิวหนังผืนใหญ่มากกว่า 20,000 ตารางเซนติเมตร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ก่อนที่จะอ่านเรื่องราวของโรคนี้ ท่านควรจะทราบก่อนว่า ต้อเนื้อคืออะไร ?“ต้อเนื้อ” เป็นโรคที่เกิดกับตาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมที่ยื่นจากขอบตาดำเข้าไปบนตาดำ (ดังรูปที่ 1)ตำแหน่งที่พบมากคือด้านในหรือด้านหัวตา ทั้งนี้เชื่อว่าต้นเหตุที่จะทำให้เกิด (ซึ่งจะกล่าวต่อไป) กระทบบริเวณหัวตาได้มากกว่าส่วนหางตาอีกทั้งบริเวณหัวตามีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก เป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้”อาการปวดหัว เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดอาการหนึ่ง มนุษย์เราทุกคนคงเคยปวดหัวมาแล้วทั้งนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    ว่ากันเรื่องผมร่วงมาแล้ว 2 ฉบับ เริ่มตั้งแต่สาเหตุของผมร่วง เช่นผมร่วงตามธรรมชาติ ผมร่วงตามกรรมพันธุ์ และผมร่วงจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ผมร่วงจากซิฟิลิส ผมร่วงเป็นหย่อม ผมร่วงจากเชื้อรา และผมร่วงจากการถอนผมสำหรับฉบับนี้ก็จะเป็นเรื่อง ไข้หัวโกร๋น ที่ทำให้ผมร่วง สาเหตุจะเป็นเพราะถูกผีหลอกหรือเปล่า ก็เชิญติดตามอ่านกันต่อไป และปิดท้ายด้วยผมร่วงหลังคลอดไข้หัวโกร๋น (Tellogen effluvium) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    คุณเคยสงสัยบ้างไหมว่า ในขณะที่เรากำลังเดิน วิ่ง ถีบจักรยานว่ายน้ำ ร่างกายของเราทำอย่างไรจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้โดยมีท่วงท่าที่คล่องแคล่วไม่เคอะเขินสะดุด การเคลื่อนไหวของคนเราต้องการการทำงานร่วมกันของอวัยวะในร่างกายหลายอย่างคือกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่ทำหน้าที่ของมันอย่างประสานและต่อเนื่อง ยิ่งเป็นนักกีฬายิมนาสติกที่กระโดดตีลังกาได้กลางอากาศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” อาการเจ็บหนักมาก และอาการเจ็บหนัก มีอะไรบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    โรคปวดข้ออะไรเอ่ย ที่ท่านไม่ได้เป็น แต่มักจะถูก (ท่านหรือคนอื่น) เข้าใจผิดว่าเป็นคำตอบก็คือ โรครูมาตอยด์ นี่เองท่านผู้อ่านจำนวนมากอาจจะเคยได้ยินชื่อโรครูมาตอยด์ มาบ้างแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เคยปวดข้อหรือมีญาติพี่น้องคนรู้จักเป็นโรคปวดข้อ แล้วมักจะมีใครสักคนบอกท่านว่า เป็นโรครูมาตอยด์ และต่อด้วยความว่า เป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หาย (ฟังแล้วก็ใจหาย) ...