สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    เต้าหู้ กำเนิดมากว่า 2,000 ปี ในจีนแผ่นดินใหญ่ คนจีนบางกลุ่มถือว่าเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่อยู่ในความธรรมดาสามัญ คนไทยเรียกเต้าหู้เพี้ยนมาจากภาษาจีนว่า โตวฟู คนญี่ปุ่นเรียกกันว่า โทฟุ (tofu) คนอังกฤษเรียก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    การดูแลรักษาคนไข้จิตเวช มีความยุ่งยากซับซ้อนแตกต่างไปจากคนไข้ทางกาย ผู้รักษาพยาบาลต้องใช้มิติทางด้านจิตใจสูง จึงจะสามารถเยียวยาคนไข้ได้ดี นอกจากนั้นแพทย์และพยาบาลยังต้องมีใจไว้เยียวยาตัวเองด้วยผมมีโอกาสไปเยี่ยมให้คำปรึกษาเรื่องการพัฒนาคุณภาพสถาบันจิตเวชแห่งหนึ่ง ได้เรียนรู้การปฏิบัติงาน ปรัชญาแนวคิดของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งวิถีชีวิตของคนไข้ เป็นประสบการณ์ที่น่าประทับใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    "ได้ละหมาดแค่ตอนเช้ามืด ก่อนออกจากบ้านมาทำงาน ส่วนรอบเที่ยงและบ่ายไม่มีโอกาสได้ทำ ตอนเย็นกลับบ้านไปจึงต้องทำชดเชย 2 ครั้งนั้นด้วย จะทำเป็นปล่อยผ่านไปเฉยๆ ไม่ได้ ปกติทำละหมาดแต่ละครั้งต้องนิ่ง มีสมาธิมากอยู่แล้ว แต่เมื่อต้องทำชดเชยย้อนหลังไปแบบนี้ยิ่งต้องใช้สมาธิมากขึ้นไปอีก ต้องรวบรวมจิตใจให้อยู่กับตรงนั้นให้ได้"พี่เล็ก หรือจุฑารัตน์ บินอุสมาน หัวหน้างานคดีและประกันชีวิต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมวัตถุไปต่อไม่ได้แล้วโดยไม่เกิดวิกฤติ ไม่มีทางอื่นที่มนุษย์จะรอดจากวิกฤตินอกจากปฏิวัติจิตสำนึกศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ปาฐกถาพิเศษเรื่อง "ระบบการศึกษาที่แก้ความทุกข์ยากของคนทั้งแผ่นดิน" ในงานประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษา ครั้งที่2 เรื่อง "จิตตปัญญา : ทางเลือก หรือทางรอดของสังคม?" จัดโดย ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ปัจจุบันพบบ่อยว่าวัยรุ่นให้ความสำคัญกับการมีรูปร่างหน้าตาดี การมีผิวพรรณสดใส ซึ่งก็ไม่ใช่สิ่งที่ผิดอะไร หากหนทางที่ได้มานั้นเป็นไปโดยธรรมชาติ เช่น จากการกินอาหารให้ครบหมู่ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับพบว่าวัยรุ่นบางส่วนหมกมุ่นอยู่กับการดูแลรูปร่างหน้าตาตนเอง ความอยากมีผิวขาวใส ยอมทุ่มเททั้งเวลาและเงินทองกับสิ่งภายนอกเหล่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    บางคนเมื่อมีเรื่องขัดใจ หรือมีอารมณ์เครียด ก็เกิดอาการหายใจหอบลึก และมือเท้า 2 ข้างจีบเกร็งคล้ายเป็นตะคริว อาจมีอาการแน่นิ่งไม่พูดไม่จา หรือเอะอะโวยวาย คล้ายเสียสติ สร้างความตกใจให้ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูงที่พบเห็น บางชุมชนเข้าใจว่าเป็น "โรคผีเข้า" พาไปทำพิธีไล่ผีตามความเชื่อของท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งมักจะหายได้เช่นเดียวกับพาไปรักษาที่โรงพยาบาลอาการดังกล่าวแพทย์เรียกว่า "กลุ่มอาการระบายลมหายใจเกิน" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    โสน (อ่าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ทำไป พักไป ฟังเพลงบ้าง หัวเราะบ้าง และอย่าลืม...ยิ้มในหน้า 'ยิ้มในหน้า' คำที่ปู่พีระ หรือคุณพีระ บุญจริง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    คนเราเมื่ออยู่ในภาวะคับขัน ย่อมต้องการใครสักคน หรือสิ่งยึดเหนี่ยวเพื่อเป็นที่พึ่ง คนเจ็บไข้ได้ป่วยที่ต้องมาโรงพยาบาลก็เช่นเดียวกัน ย่อมต้องการที่พึ่งทั้งคน บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา เป็นเรื่องที่โรงพยาบาลที่พัฒนาคุณภาพให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะมีผลต่อความปลอดภัยของคนไข้ ประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ประวัติของก๋วยเตี๋ยวน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยชาวจีนล่องเรือมาขายสินค้ากับคนไทย นอกจากขายสินค้าแล้ว ยังนำเส้นก๋วยเตี๋ยวมาด้วยโดยปรุงกินกันในเรือ ต้มน้ำซุป ใส่หมู ใส่ผัก คนไทยเห็นเป็นของแปลกตาในยุคนั้นอย่างที่สุด แต่เมื่อเห็นบ่อยเข้าก็มีการนำเส้นก๋วยเตี๋ยวมาประกอบเป็นอาหารอื่นๆ สร้างความคุ้นเคยระหว่างคนไทยกับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ ...