อาหารสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    กล้วยหอมกล้วยหอมเป็นผลไม้เมืองร้อน พบได้ทางตอนใต้ของประเทศจีน เช่น มณฑลฝูเจี้ยน กวางตุ้ง ยูนนาน เป็นต้น กล้วยหอมสุกมีส่วนประกอบของแป้งร้อยละ ๐.๕ โปรตีนร้อยละ ๑.๓ ไขมันร้อยละ ๐.๖ น้ำตาลร้อยละ ๑๑ นอกจากนี้ ยังมีวิตามิน เอ บี ซี อี แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก รวมถึง 5-ไฮดร็อกซีทริปทามีน (5-hydroxytryptamin) นอร์อะดรีนาลิน (noradrenaline)โดพามีน (dopamine) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    เห็ดเป็นยาเห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตที่เคยจัดว่าเป็นพืชชั้นต่ำ แต่เมื่อมีเทคโนโลยีขั้นสูงในการศึกษาถึงระดับโมเลกุล จึงทำให้ทราบว่าพันธุกรรมของเห็ดมีความคล้ายคลึงกับสัตว์มากกว่าพืช และที่สำคัญเห็ดไม่มีคลอโรฟิลล์หรือสารสีเขียวที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงจัดจำแนกเห็ดออกมาเป็นสิ่งมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งที่แยกจากพืชและสัตว์ มนุษย์ได้รู้จักการใช้ประโยชน์จากเห็ดมานับพันปี ตัวอย่างเช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    เห็ดคุณค่าทางอาหารอาหารที่ปรุงจากเห็ดหลายๆ ชนิดเป็นอาหารที่หลายคนคุ้นเคยและชื่นชอบ เนื่องจากเห็ดมีรสชาติดี บางชนิดมีสรรพคุณทางยา และบางชนิดเป็นพิษกลายเป็นรายการเห็ดมรณะคร่าชีวิตคนได้ ดังนั้น จึงควรทำความรู้จักกับเห็ดในแง่มุมต่างๆ กัน เพื่อประโยชน์ทางด้านโภชนาการ และการป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับสุขภาพลักษณะโดยทั่วไปเห็ดเป็นพืชชั้นต่ำจำพวกเชื้อรา มีการเจริญเติบโตเป็นสายใย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ชาติต่างๆ ย่อมมีภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตนเกี่ยวกับการกินการอยู่และการรักษาตัวซึ่งเหมาะสมสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมที่ชนชาตินั้นๆ อาศัยอยู่ สังคมก็เหมือนต้นไม้ที่ต้องมีรากรากของสังคมคือ วัฒนธรรมถ้าตัดรากต้นไม้อะไรเกิดขึ้นฉันใด การพัฒนาโดยตัดรากของสังคม ก็มีผลทำนองเดียวกันฉันนั้นการพัฒนาที่ทิ้งฐานทางวัฒนธรรมย่อมนำไปสู่วิกฤตการณ์เสมอไม่ได้หมายความว่าไม่ควรรับวัฒนธรรมอื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    มังคุด อาหารของพระเจ้า ราชินีแห่งผลไม้สมุนไพร…แห่งอนาคตชื่อพันธุ์ไม้มังคุดชื่อพื้นเมืองมังคุด (ทั่วไป) แวะซือตอ (นราธิวาส)ชื่ออังกฤษmangosteenชื่อวิทยาศาสตร์Garcinia mangostana Linn.ชื่อวงศ์Guttiferaceมังคุด เอกลักษณ์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มังคุดมีฉายาในแถบเอเชียด้วยความภาคภูมิใจในผลไม้ชนิดนี้ว่า “ราชินีแห่งผลไม้, the queen of ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    หอมหัวใหญ่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ ลดอาการกระตุกของกล้ามเนื้อ มีฤทธิ์มากในการขับสารพิษทั้งที่เป็นโลหะหนักและพยาธิ หอมหัวใหญ่ (Allium cepa) เป็นพืชในตระกูลเดียวกับกระเทียม อุดมไปด้วยธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม กำมะถัน ซีลีเนียม บีตาแคโรทีน กรดโฟลิก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    ฟ้าทะลายโจร และ ปัญจขันธ์ สมุนไพรแห่งปีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกและกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมมือกันส่งเสริมและพัฒนาสมุนไพร ๒ ชนิด ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร และปัญจขันธ์ เพื่อผลักดันให้เป็นสมุนไพรแห่งปีศ.นพ.สุชัย เจริญรัตนกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่าฟ้าทะลายโจรมีสรรพคุณทางบรรเทาอาการต่างๆ ของไข้หวัด เช่น อาการอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เจ็บคอ น้ำมูกไหล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    กินอย่างไรเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนหลายคนคงเคยได้ยินหรือได้เห็นมาว่า เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นอาจมีปัญหาเรื่องตัวเตี้ยลง หลังค่อมจนเงยไม่ขึ้น ขาโก่งงอ หรือกระดูกหักง่าย ต้องระวังไม่ให้หกล้ม อาการเหล่านี้เป็นผลเกี่ยวเนื่องจากภาวะกระดูกพรุน คงไม่มีใครอยากมีอาการเช่นนี้ เราจึงควรมาเรียนรู้และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะกระดูกพรุนกันเถอะรู้จักโรคกระดูกพรุน โรคกระดูกพรุน หรือที่เรียกว่า osteoporosis ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    น้ำลูกยอ ดีจริงหรือถาม : นัดดา/ปราจีนบุรีดิฉันอยากทราบรายละเอียดของ "น้ำลูกยอ" (เพราะเดี๋ยวนี้เห็นตามท้องตลาดมีหลายยี่ห้อ และอยากจะหามาบริโภคบ้าง) ขอเรียนถามคุณหมอว่า น้ำลูกยอมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าบริโภคไปนานๆ จะมีผลข้างเคียงอะไรไหม ช่วยตอบและให้คำแนะนำด้วยนะคะตอบ : น.ท.นพ.จักรพงศ์ ไพบูลย์ลูกยอ ชื่อวิทยาศาสตร์ Morinda citrifolia Lin ชื่อวงศ์ Ru-biaceae ชื่อท้องถิ่น มะตาเสือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ปัญจขันธ์ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ต้านอนุมูลอิสระปัญจขันธ์ พืชล้มลุกชนิดเถาเลื้อยที่ขึ้นเองตามธรรมชาติมีในประเทศไทย อยู่ในวงศ์แตง แต่คนไทยเพิ่งจะเริ่มปลูกและให้ความสนใจเมื่อไม่นานมานี้ ในขณะที่คนจีนในภาคใต้ของประเทศนำปัญจขันธ์มาบำรุงร่างกายกันนานแล้ว โดยคนจีนรู้จักกันในชื่อ เจียวกู่หลาน หรือเซียนเฉ่า (สมุนไพรอมตะ) และเริ่มแพร่หลายเข้าไปในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ...