-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
333
มกราคม 2550
ข้อศอกหักการปฐมพยาบาล
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
332
ธันวาคม 2549
ไหปลาร้าหักการปฐมพยาบาล
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
332
ธันวาคม 2549
ต้นแขนหักการปฐมพยาบาล
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
330
ตุลาคม 2549
จมูกหักอาจเกิดจากการถูกกระแทกอย่างแรงที่ดั้งจมูกอาการปวด บวม ช้ำ หรือมีเลือดออกทางจมูกการปฐมพยาบาล๑.นั่งโน้มตัวมาข้างหน้าเล็กน้อย๒.ถ้ามีเลือดออกให้บีบจมูก แล้วหายใจทางปาก๓.ประคบเบาๆ ด้วยความเย็น๔.รีบนำส่งโรงพยาบาล
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
327
กรกฎาคม 2549
ข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลงข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลง เกิดจากการเคลื่อนไหวผิดท่า ทำให้เกิดการหมุน พลิก บิด ของข้อเท้าเช่น เดินพลาด ตกหลุม เหยียบก้อนหิน ถูกกระแทก หรือของหล่นทับ มักมีอาการปวด บวม เจ็บ เคลื่อนไหวไม่ถนัดการปฐมพยาบาล๑.ให้ข้อเท้าที่ได้รับบาดเจ็บพักนิ่งๆ ห้าม! เดิน๒.ยกเท้าให้สูงเล็กน้อยเพื่อห้ามเลือดและลดบวม๓.ประคบด้วยความเย็นทันทีนานอย่างน้อย ๒๐ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
326
มิถุนายน 2549
ขากรรไกรเคลื่อนหมายถึง กระดูกขากรรไกรล่างเลื่อนหลุดออกจากที่ หรือที่เรียกว่า "ขากรรไกรค้าง" เกิดจากการหัวเราะอย่างเต็มที่ หาวนอน อ้าปากกว้างกว่าปกติ หรืออุบัติเหตุอื่นๆ มักมีอาการปวด เจ็บ ขากรรไกรแข็ง ขยับไม่ได้การปฐมพยาบาล๑.ให้อยู่นิ่งๆ๒.ใช้ผ้าสามเหลี่ยมผูกพยุงคางไว้๓.นำส่งโรงพยาบาลห้าม !ตบที่คางเด็ดขาด
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
326
มิถุนายน 2549
ข้อไหล่หลุดคือ ส่วนของกระดูกบริเวณข้อไหล่เคลื่อน หรือหลุดออกจากการกระชากอย่างแรง หรือเกิดร่วมกับกระดูกหักอาการ ! ปวด บวม เจ็บ ไม่มีแรง ยกแขนไม่ขึ้นการปฐมพยาบาล๑.ให้ข้อพักนิ่ง๒.เข้าเฝือกชั่วคราว หรือใช้ผ้ามัดให้ส่วนนั้นอยู่นิ่งๆ๓.งดอาหารน้ำและยาทุกชนิด๔.นำส่งโรงพยาบาล
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าเป็นสาธารณูปโภคที่จำเป็นต้องใช้ทุกครัวเรือน และมักพบอุบัติเหตุอยู่เสมอ อันตรายเกิดจากการวิ่งของกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดแผลได้ทั้งภายนอกและภายในร่างกายตามเส้นทางผ่านของกระแสไฟฟ้าและ อาจเสียชีวิตได้การปฐมพยาบาล๑.ตรวจสอบความรู้สึก การหายใจ และชีพจร๒.ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในปากให้ล้วงออก เพื่อให้ผู้บาดเจ็บหายใจได้สะดวก๓.ถ้าไม่หายใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
แผลไหม้จากกรดและด่างที่ผิวหนังสารเคมีที่สำคัญที่ทำให้ผิวหนังถูกทำลายและเกิดบาดแผลไหม้ที่รุนแรงได้แก่ กรด หรือด่าง ผู้บาดเจ็บจะมีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก ผิวหนังอาจถูกทำลายตั้งแต่ผิวหนังชั้นบนจนถึงกล้ามเนื้อ ผู้ช่วยเหลือต้องใส่ถุงมือหรือเครื่องป้องกันก่อนเข้าไปให้การช่วยเหลือ มิฉะนั้นตนเองจะได้รับอันตรายจากกรดหรือด่างในที่เกิดเหตุการปฐมพยาบาล๑.ราดน้ำสะอาดบริเวณแผลมากๆ นานอย่างน้อย ๑๐ นาที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
ดูแลผู้ป่วยโรคลมชักถาม : พจมาน/เชียงใหม่ดิฉันมีน้องสาว ๑ คน มีอาการของโรคลมชัก ขณะนี้มาพักอยู่ที่บ้าน แต่ไม่รู้ว่าอาการจะกำเริบเมื่อไหร่ต้องการทราบว่า เมื่ออาการกำเริบ คนรอบข้างควรจะดูแลกันอย่างไร ตอบ : นพ.กัมมันต์ พันธุมจินดาเมื่อผู้ป่วยโรคลมชัก เกิดอาการชักขึ้นมา ไม่มีวิธีใดที่จะสามารถหยุดอาการชักได้ แม้แต่ยากันชักที่ผู้ป่วยกำลังกินอยู่ ...