คู่มือดูแลสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงสาเหตุที่พบบ่อยของอาการเป็นลมหน้ามืด บางสาเหตุ เช่น เป็นลมธรรมดา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    คอลัมน์นี้เปิดโอกาสให้ถามปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของช่องปาก การถามปัญหานั้น ผู้ถามจะท่านให้ชัดเจน ส่งไปยัง หมอชาวบ้าน ตู้ ปณ.กลาง 192 กรุงเทพฯ 10501ต้องเล่าประวัติ การตรวจรักษา การใช้ยา การแพ้ยา(ถ้าเคย) ให้ละเอียดและโปรดแจ้งชื่อ อายุ เพศ ที่อยู่ให้ชัดเจน(ยินดีตอบให้เป็นการส่วนตัว) โปรดส่งจดหมายพร้อมกับซองเปล่า ติดแสตมป์ จ่าหน้าถึงตัว“นี่ คุณ เมื่อคืนนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    “ผมร่วง” ถ้าไม่ประสบกับตัวเองก็คงจะไม่รู้หรอกว่า อาการผมร่วงก่อนให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลเพียงใด เพราะเชื่อกันว่าผมร่วงมาก ๆ จะทำให้เป็นโรคหัวล้าน ที่จริงแล้ว เรื่องผมร่วงกับหัวล้านนั้น ไม่ค่อยจะเกี่ยวข้องกันเท่าใด คนเป็นโรคผมร่วงส่วนใหญ่ไม่ทำให้หัวล้าน และบางคนที่คิดว่าตนเองกำลังเป็นโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    เส้นผมและทรงผมมีอิทธิพลต่อความสวยความงามของมนุษย์อย่างมากทีเดียว ใครที่ไม่มีปัญหาในเรื่องนี้ก็จะไม่ซาบซึ้งถึงความสำคัญนักผมคนเราในแต่ละช่วงเวลาจะมีอยู่ประมาณหนึ่งแสนเส้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    ภาพตัดขวางของลิ้นตุ่มนูนที่กระจายอยู่ทั่วลิ้นช่วยให้มีการสัมผัสกับอาหารได้ดีขึ้น ตุ่มนูนรอบลิ้นเหล่านี้ (ยกเว้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่างๆในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วย โดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    “แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเองหากท่านได้ยินได้เห็นภาษาหมอคำใดแล้วไม่เข้าใจ ก็ขอเชิญเขียนจดหมายถามมา ยังคอลัมน์ได้เลยครับ”"(6 มีนาคม) สักตี 2 ครึ่ง ตื่นขึ้นมาเหงื่อแตกซิก แต่หนาวสะท้านจับใจ.... 8 โมงเช้า หนาวเหมือนลูกนกในหิมะอย่างเดิม อมปรอทดูอุณหภูมิตัวเองปาขึ้นไป 38.9 องศา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ⇒ โรคหัวใจหรือโรคจิตใจทำเหตุบุญมีเดินคอตกออกจากโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง หลังจากได้เข้าไปตรวจร่างกาย และหมอบอกว่า “บุญมีเป็นโรคหัวใจ แต่ไม่ร้ายแรงและไม่เป็นมาก ให้กินยาตามที่หมอสั่งแล้วบุญมีจะหาย” บุญมีรู้สึกตกใจ เสียใจ และตื้อไปหมด จนลืมถามหมอว่า ตนเป็นโรคหัวใจชนิดไหน ต้องปฏิบัติตัว อย่างไร และต้องรักษาตนไปนานเท่าไรระยะ 2-3 สัปดาห์ก่อนมาหาหมอ บุญมีรู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลีย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    “ส่างไข้” เป็นภาษาพูดที่รู้จักกันทั่วไป บางแห่งอาจเรียกว่า ”ฟื้นไข้” ซึ่งเป็นความหมายของการที่ ไข้ลดลง และร่างกายกำลังจะกลับสู่ภาวะปกติ ระยะส่างไข้มีความสำคัญ ไม่น้อยกว่าระยะที่มีไข้ เพราะบางครั้งถ้าให้การดูแลที่ไม่พอโดยเฉพาะเด็ก อาจทำให้โรคกลับเป็นซ้ำขึ้นอีก ทั้งนี้เนื่องจากในระยะที่เป็นไข้นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นระยะที่เบื่ออาหาร และร่างกายต้องใช้พลังงานที่มีอยู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ในระยะ 5 ปีมานี้ บนหน้าหนังสือพิมพ์ดัง ๆ หลายฉบับ ได้ปรากฏโฆษณาโปรแกรมลดน้ำหนักวิธีต่าง ๆ เช่น เวิร์มคลับ ...ลดน้ำหนักด้วยการบริหาร , สแลมเซ็นเตอร์...ลดน้ำหนักโดยไม่ต้องออกกำลังกาย ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์อย่างเช่น ชาลดความอ้วน, อาหารเสริม บรรจุซองสำหรับลดความอ้วน เป็นต้น วางขายในห้างสรรพสินค้าทั่วไปคลินิกแพทย์หลายแห่งก็ขึ้นรายการลดน้ำหนักด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ใช้ยาบ้าง ฝังเข็มบ้าง ...