คู่มือดูแลสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    โรคภูมิแพ้ทางผิวหนังหลังจากที่คุณได้รู้จักกับ “โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ” ในฉบับก่อนไปแล้วนั้น คงจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ กระจ่างมากขึ้นกว่าเดิมนะคะและสำหรับคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะพูดถึง “โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง” ต่อเนื่องกันไปให้ครบถ้วนสุภาพสตรีคนหนึ่งลองซื้อเครื่องสำอางยี่ห้อใหม่มาใช้ ได้ฟังโฆษณากรอกหูอยู่ทุกวันว่า ใช้แล้วจะทำให้หน้าตาผิวพรรณผุดผ่อง มองดูอ่อนกว่าวัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    กระดูกของเรา⇒ชายและหญิงมีจำนวนกระดูกเท่ากันประมาณ 206 ชิ้นแต่โดยทั่วๆไปกระดูกของชายจะใหญ่และหนักกว่ากระดูกของหญิง⇒อุ้งเชิงกรานของหญิงจะกว้างกว่าของชาย ซึ่งมีไว้ให้เหมาะกับการตั้งครรภ์และการคลอดบุตรเราจึงเห็นส่วนตะโพกของหญิงกว้างกว่าชาย⇒กระดูกไหปลาร้าหญิงมีลักษณะโค้งสั้นกว่าชาย เราจึงเห็นช่วงไหล่ของหญิงแคบกว่าของชาย
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)คนไข้เจ็บอกที่มีอาการเจ็บหนักหรือฉุกเฉิน เมื่อได้รับการปฐมพยาบาลและการรักษาขั้นต้นจนอาการดีขึ้นพอที่จะเคลื่อนย้ายคนไข้ไปที่โรงพยาบาลแล้ว ควรจะรีบส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลสำหรับคนไข้ที่มีอาการเจ็บ ปวด แสบ แน่น หรืออื่นๆ ที่บริเวณอก แต่ไม่มีอาการเจ็บหนัก หรือฉุกเฉิน อาจจะให้การตรวจรักษาเป็นขั้นตอน ตามแผนภูมิที่ 1 คือให้ถามคนไข้ว่า อาการเจ็บอกนั้น กดเจ็บไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    ตรวจภายใน / พีวี / พีอาร์“คนไข้รายนี้มีอาการเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ สงสัยจะเป็นเนื้องอกที่มดลูก เดี๋ยวผมจะทำพีวี คุณช่วยเตรียมคนไข้ให้ด้วย” หมอสั่งพยาบาลช่วย หลังจากฟังคำบอกเล่าของคนไข้สาวที่ห้องตรวจนรีเวชกรรมส่วนที่ห้องตรวจศัลยกรรม แพทย์อาวุโสผู้เป็นอาจารย์ถามนักศึกษาแพทย์เพื่อสอบความรู้ของลูกศิษย์ว่า “วิธีตรวจมะเร็งทวารหนักที่ง่าย ปลอดภัยและราคาถูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)ในฉบับที่แล้วเราได้กล่าวถึงอาการเจ็บอก การตรวจรักษาคนไข้เป็นขั้นเป็นตอน และอาการเจ็บหัวใจไม่คงที่ ในฉบับนี้จะได้กล่าวถึงอาการเจ็บหัวใจจากหัวใจขาดเลือด (angina pectoris)อาการเจ็บหัวใจจากหัวใจขาดเลือด (angina pectoris) ส่วนใหญ่จะวินิจฉัยได้จากอาการ (ประวัติของอาการ) ที่พบว่าอาการเจ็บอกนั้นมีลักษณะดังนี้1. ตำแหน่งที่เจ็บ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหัวใจผู้ป่วยโรคหัวใจหลังจากเข้ารับการรักษาและกลับบ้าน มักจะมีปัญหาในเรื่องการปฏิบัติตัว เพราะผู้ป่วยบางคนคิดว่าแม้จะรักษาหายแล้วแต่ร่างกายอาจไม่ปกติ การทำงานอะไรก็ไม่เต็มที่ รู้สึกกลัวว่าจะเกิดอาการหัวใจวายได้ จนบางครั้งมีผลให้เกิดความเครียด กลับเป็นโรคหัวใจได้อีกครั้งดังนั้น การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหัวใจจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    เส้นประสาทไขสันหลังเส้นประสาทไขสันหลังคือ เส้นประสาทที่ออกมาจากไขสันหลัง โดยการรวมกันของรากเส้นประสาทด้านหลัง (dorsal root) กับรากเส้นประสาทด้านหน้า (ventral root)รากเส้นประสาทด้านหลัง (dorsal root) ประกอบด้วยเซลล์ประสาทรับความรู้สึก ทำหน้าที่นำความรู้สึกจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้ามายังไขสันหลังรากเส้นประสาทด้านหน้า (ventral root) ประกอบด้วยเซลล์ประสาทนำคำสั่ง (motor nerves) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การควบคุมโรคอุจจาระร่วง จะทำอย่างไรก่อนดีการปรับปรุงคุณภาพของน้ำหรือส้วมอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงแค่นั้น แทบไม่มีผลต่อการลดอุบัติการณ์ของโรคท้องร่วงเลยน้ำเกลือแห้งและมาตรการต่างๆ ในด้านการรักษาโรคท้องร่วง มีผลทำให้อัตราการตายของโรคนี้ลดลงอย่างมาก แต่ไม่มีผลในการลดการเกิดโรคท้องร่วงหรือลดการแพร่กระจายของโรคเป้าหมายหลักในการต่อสู้กับโรคท้องร่วงก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การดูแลเด็กออกผื่น“เด็กออกผื่น” หมายถึง เด็กที่ป่วยเป็นไข้และมีผื่นขึ้น ซึ่งมีอยู่หลายโรคด้วยกัน เช่น ส่าไข้ อีสุกอีใส หัด หัดเยอรมัน และไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งผื่นของโรคที่กล่าวมาแต่ละอย่างมีลักษณะแตกต่างกันในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการดูแลเด็กออกผื่นของอีสุกอีใสและหัดเท่านั้น เนื่องจากผื่นที่ปรากฏมีระยะเวลาที่เป็นอยู่นานวัน และยังมีความสัมพันธ์กับการเบื่ออาหารและเจ็บคอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก รูปที่ 1 ...