คู่มือดูแลสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 42 ตุลาคม 2525
    การตรวจร่างกาย ตอนที่ 36ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” “การตรวจร่างกาย ตอนที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    เท้าอวัยวะเบื้องต่ำที่สำคัญฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงปัญหาที่พบบ่อยของเท้าและฉบับนี้ จะขอกล่าวถึงวิธีการแก้ปัญหาของเท้าหรือลดความเจ็บปวดที่เราสามารถจะช่วยตัวเราเองก่อนเบื้องต้น1.เลือกรองเท้าที่เหมาะกับเท้าของเรา อย่าให้หลวมหรือคับจนเกินไป และถ้าจำเป็นอาจจะต้องสั่งตัดเป็นพิเศษ รองเท้าไม่ว่าชายหรือหญิงควรจะเป็นรองเท้าหุ้มส้น หรือมีสายรัดเหนือส้นเท้า สำหรับส้นรองเท้าไม่ควรให้สูงมาก ไม่ควรเกิน 1 นิ้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    เข่าทุกท่านคงรู้จักเข่า(Knee) เป็นอย่างดี แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า เข่าหรือข้อเข่าประกอบด้วยส่วนปลายของกระดูกต้นขา(Femur) มาต่อกับส่วนต้นของกระดูกปลายขา( กระดูกหน้าแข้ง) (Tibia) รวมทั้งกระดูกสะบ้าหัวเข่า (Patella) ด้วยหัวเข่ามีปลอกหุ้ม (Capsule) อยู่รอบ ๆ กระดูกข้อเข่าภายในปลอกหุ้มมีส่วนแผ่นเยื่อบาง ๆ (Synovial membrane) บุอยู่ภายใน ซึ่งมีหน้าที่สร้างน้ำสำหรับหล่อลื่นข้อเข่าหรือเรียกว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    ปวดข้อเข่าเพราะข้อเสื่อม หมอ : สวัสดีครับป้า เชิญนั่งสิ เป็นไงมาล่ะครับคนไข้ : ปวดหัวเข่าค่ะ โอ๊ย ! มันทรมานเสียจริง ๆ นั่งนาน ๆ ก็ปวด เดินนาน ๆ ก็ปวด...หมอ :ขึ้นบันได ลงบันไดก็ปวด นั่งยอง ๆ คุกเข่า ขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบก็ปวดด้วย ใช่ไหมครับ นั่งนานหน่อยจะลุกที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    กล่องเสียง กล่องเสียง เป็นอวัยวะที่เป็นทางผ่านของอากาศและช่วยในการออกเสียง ประกอบด้วยกระดูกอ่อนหลายชิ้นยึดต่อกันด้วยเอ็น ได้แก่ กระดูกอ่อนธัยรอยด์ (Thyroid cartilage) , ไครคอยด์ (Cricoid cartilage), อรีทีนอยด์ (Arytenoid cartilage)และกระดูกเล็ก ๆ อีกหลายชิ้นที่ส่วนต้นของกล่องเสียงมีกระดูกอ่อนอิปิกล๊อตติส (Epiglottis) หรือที่เราเรียก ลิ้นไก่ล่าง เป็นฝาปิดกล่องเสียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    เท้าอวัยวะเบื้องต่ำที่สำคัญถึงแม้ว่าเท้าของมนุษย์เราจะเป็นอวัยวะที่อยู่เบื้องต่ำ ไม่เชิดหน้าชูตาเช่นหน้า ทั้งยังเป็นเครื่องแสดงท่าทีที่หยาบคาย ถ้าถูกยกขึ้นมาอยู่ในระดับสูง แต่ก็เป็นอวัยวะที่สำคัญมาก ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอวัยวะอื่นๆ เลย มนุษย์เป็นสัตว์ที่เดินอยู่บนสองเท้า เท้าจึงต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักของร่างกายทั้งหมด เมื่อมีการยืน เดิน หรือวิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    การตรวจร่างกาย ตอนที่ 34ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” “การตรวจร่างกาย ตอนที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    ต่อมและท่อน้ำเหลือง ต่อมน้ำเหลือง ปกติเป็นต่อมขนาดเล็ก กระจายอยู่ตามที่ต่างๆของร่างกาย เช่นที่ศีรษะ คอ รักแร้ ขาหนีบ ทรวงอก ช่องท้อง มีหน้าที่ในการต่อต้านและต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    ภาพแสดงตำแหน่งและลักษณะการปวดศีรษะกับโรคที่อาจพบได้ ตำแหน่ง ลักษณะการปวด โรคที่พึงสงสัย1.ต้นคอ- ปวดขัด เป็นมากเวลาก้ม ๆ เงย ๆ บาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    โรคของนักบริหารนักบริหารโดยทั่วไปเป็นผู้ที่ทำงานโดยใช้กำลังปัญญามาก ใช้กำลังกายน้อย มนุษย์ยิ่งเจริญมากก็ใช้เครื่องจักรเครื่องกลผ่อนแรงมากขึ้น ตัวเองเพียงแต่วางแผนกำหนดการว่าจะให้ทำอะไร แล้วก็ออกคำสั่งให้ผู้อื่นหรือเครื่องจักรเป็นตัวกระทำโดยธรรมชาตินั้น ส่วนของร่างกายที่ใช้มากก็แข็งแรงมาก ส่วนที่ใช้น้อยหรือแทบไม่ได้ใช้เลยก็จะฝ่อห่อเหี่ยวลงไป จะเห็นได้ว่าคนที่เล่นกล้ามเมื่อหยุดเล่นไปนาน ๆ ...