-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
แพ้อาหารหลายๆ ครั้งความสำคัญในครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวคนใดคนหนึ่งเกิดมีอันต้อง “แพ้อาหาร” ขึ้นมา แล้วอย่างนี้คุณๆ ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดจะทำอย่างไรกันดี‘แพ้อาหาร’ คืออย่างไรถ้าเมื่อใดที่เกิดการแพ้อาหารขึ้น คุณสามารถจะรู้สึกเกือบทันทีเลยว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
น้ำอัดลมสวัสดีค่ะ อย่าเพิ่งแปลกใจว่าทำไมฉบับนี้จึงเป็นคะขา จ๊ะจ๋า เนื่องจากเจ้าประจำเขาพักร้อน ดิฉันจึงทำหน้าที่แทนไปก่อน ในวันที่อากาศร้อนแดดเปรี้ยงๆ จนตัวแทบไหม้เกรียมเนื่องจากไม่มีเค้าเมฆฝนเลยตั้งแต่เช้า เราไปล่องสายธารน้ำอัดลมให้ซาบซ่าชุ่มฉ่ำกันดีกว่าน้ำอัดลมหรือที่เรียกกันตามภาษาชาวบ้านว่า “น้ำขวด” นั้น เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
อาหารหน้าโรงเรียนหลังเลิกเรียนเป็นเวลาที่เด็กๆ มักจะหิวกันมาก เพราะตั้งแต่เช้าจรดเย็นพวกเขาต้องใช้ทั้งสมอง และพลังงานในการเรียน และการทำกิจกรรม พอเลิกเรียนก็ต้องเดินทางกลับบ้าน ซึ่งบางครั้งต้องใช้เวลานาน เด็กมักหิ้วท้องรอจนหว่าจะถึงบ้านไม่ไหว เด็กมักต้องหาอาหาร แถวหน้าโรงเรียนกินเพื่อระงับความหิวไปพลางก่อน ดังนั้น ไม่ว่าพ่อค้าแม่ขายจะเสนออะไรให้ลองชิมและมีรสชาติเป็นอย่างไร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
173
กันยายน 2536
เครื่องดื่มกับสุขภาพเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต จะมีความต้องการสารอาหารมากเป็นพิเศษ แต่ส่วนใหญ่เด็กในวัยนี้มักจะชอบกินขนมและดื่มน้ำอัดลมมากจนเกินไป โดยไม่กินอาหารอื่นประกอบ ทำให้เด็กหลายคนเกิดภาวะขาดสารอาหาร ทั้งที่ร่างกายดูอ้วนท้วมดีเครื่องดื่มประเภทน้ำอัดลมที่เด็กส่วนใหญ่นิยมดื่มกัน จะมีน้ำตาลเป็นส่วนผสมอยู่มาก และส่วนใหญ่จะมีกรด เช่น พวกโคลา รูซเบียร์ น้ำผลไม้โซดาต่างๆ และเครื่องดื่ม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
จั๊งฟู้ด-อาหารขยะ ฟาสต์ฟู้ด-อาหารแดกด่วน“คุณหมอครับ ลูกชายของผมชอบกินอาหารฝรั่งพวกแฮมเบอร์เกอร์ ไก่ทอด ที่นิยมขายตามห้างสรรพสินค้าเป็นประจำ ไม่ทราบว่าจะมีประโยชน์หรือโทษอย่างไรบ้างครับ?” นายแดงเปิดประเด็นขึ้นปุจฉากับคุณหมอ“แล้วคุณคิดว่าอย่างไรละ” คุณหมอย้อน“ประโยชน์คงมีแน่ คือ ได้เนื้อแป้งและไขมัน” นายแดงตอบ “แต่ผมก็ยังสงสัยว่า การกินอาหารจำพวกนี้มากๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
ระวังอาหารทะเลจานโปรดปัจจุบันอาหารทะเลเป็นอาหารที่นิยมบริโภคกันมาก โดยสังเกตจากร้านขายอาหารทะเลที่ผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด ไม่ว่าจะเกิดขึ้นริมฟุตปาทจนถึงยกระดับไปอยู่ในภัตตาคารใหญ่ๆ แต่อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน คุณค่าและความเป็นพิษของอาหารทะเลก็ไม่ได้ลดลงตามไปด้วยเลยคุณค่าของอาหารทะเลอาหารทะเลนั้นมีแร่ธาตุที่จำเป็นสำหรับมนุษย์มากมาย ไม่ว่าจะเป็นไอโอดีน ธาตุเหล็ก สังกะสี และแคลเซียม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
ฟอร์มาลิน กับ อาหารเคยมีคนตั้งข้อสังเกตกับผักสดหรืออาหารทะเลสดที่สดแบบอมตะนิรันดร์กาลโดยไม่รู้จักเหี่ยว ทั้งที่ซื้อมาตั้งแต่วันก่อน อีกทั้งไม่ได้แช่ในตู้เย็นด้วย ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร ในที่สุดจึงได้คำตอบว่าเป็นเพราะสารฟอร์มาลิน (Formalin) นั่นเองมารู้จักกับ “ฟอร์มาลิน”ฟอร์มาลินเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งซึ่งมีพิษ ประกอบด้วยก๊าซฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) ละลายน้ำด้วยความเข้มข้นร้อยละ 37 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
น้ำมันพืชก่อนที่เราจะไปช็อปปิ้งกันวันนี้ ผมต้องขออนุญาตแก้ไขข้อมูลที่ได้ระบุไว้ในคอลัมน์นี้เมื่อ 3 เดือนที่แล้วให้ทันสมัยขึ้นอีก เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งว่า หลักการกำหนดสถานภาพการเป็นโรงงานได้เปลี่ยนแปลงจากเดิมซึ่งระบุว่าเป็นสถานประกอบการที่มีเครื่องจักรกำลังสูงกว่า 2 แรงม้า เป็นเครื่องจักรที่มีกำลังสูงกว่า 5 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
163
พฤศจิกายน 2535
ครีมเทียมหนึ่งเดือนผ่านไป ก็ได้เวลานัดไปช็อปปิ้งของเราอีกแล้วใช่ไหมครับ เดือนนี้จะพาท่านผู้อ่านมารู้จักการอ่านฉลากครีมเทียมกัน ครีมเทียมได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในวงการสภากาแฟบ้านเราเมื่อประมาณ 15 ปีที่ผ่านมา โดยพวกเรามักเรียกกันติดปากว่า “คอฟฟี่เมต” ซึ่งเป็นชื่อการค้า ก็เลยอาจสั่งลูกหลานให้ไปซื้อคอฟฟี่เมตยี่ห้อคูซ่าบ้าง ยี่ห้อบรูคส์บ้างก็ได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
162
ตุลาคม 2535
“หมูเป็นเอดส์”? ชาวบ้านผวาไม่กล้ากินประมาณกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมานี้ หลายท่านคงเกิดความวิตกกังวลจากข่าวของหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ฉบับหนึ่งของเมืองไทยที่ตีพิมพ์พาดหัวข่าวหน้าหนึ่ง ตัวโต สร้างความไม่สบายอกสบายใจให้เกิดขึ้นกับประชาชนอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ทราบข้อเท็จจริง กรณีของข่าวที่ปรากฏว่า “หมูเป็นเอดส์” ...