อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    การค้นพบมุมมองใหม่หมอคัตเลอร์เล่าว่าในความพยายามที่จะประยุกต์วิธีของท่านทะไล ลามะ ในการเปลี่ยนมุมมอง “ศัตรู” เขาได้พบเทคนิคอีกอันหนึ่งในบ่ายวันหนึ่ง ในช่วงที่กำลังเขียนหนังสือเล่มนี้ เขาได้เข้าไปฟังการสอนของท่านทะไล ลามะ ทางฝั่งตะวันออก (ของสหรัฐอเมริกา) ขากลับเขาจับเครื่องบินที่ตรงไปเมืองฟินิกซ์เขาจองที่นั่งติดทางเดิน แม้ว่าจะเพิ่งไปฟังการสอนทางจิตวิญญาณมาสดๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    หนทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คนสำนวนที่ยกมานี้เป็นสำนวนที่คุ้นเคยมากที่สุดสำนวนหนึ่ง แสดงให้เห็นว่าเรื่องของคนเรา ต้องอาศัยกาลเวลาเท่านั้น จึงจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นอย่างไรกาลเวลานั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตทุกชีวิต ยิ่งมีชีวิตอยู่มานานมากขึ้นเท่าใด ก็จะยิ่งรู้ซึ้งถึงความสำคัญของเวลามากขึ้นเท่านั้น คงเป็นเพราะรู้สึกว่ามีเวลาเหลือน้อยลงทุกทีนั่นเอง ย้อนกลับไปเมื่อ ๔๐ ปีที่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    การย้ายมุมมองในกาลครั้งหนึ่ง สานุศิษย์ของนักปรัชญากรีกผู้หนึ่ง ถูกอาจารย์สั่งว่าจงใช้เวลา ๓ ปี ให้เงินแก่คนทุกคนที่พูดจาดูถูกเขา เมื่อครบกำหนดแล้วอาจารย์บอกเขาว่า "คราวนี้ ไปกรุงเอเธนส์ได้แล้วจะไปแสวงหาปัญญา" เมื่อศิษย์ผู้นี้ไปถึงหน้าเมืองเอเธนส์ เขาเห็น ชายผู้ทรงปัญญาคนหนึ่งนั่งอยู่หน้าประตู พูดจาดูถูกผู้คนที่ผ่านเข้าออกประตูเมืองทุกคน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    "ดอกโสนบานเช้า ดอกคัดเค้าบานเย็น" คำพังเพยโบราณของชาวไทยภาคกลางข้างบนนี้ คนไทยสมัยก่อนได้ยินได้ฟังและคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    นอนกรนรักษาได้คุณเคยมีอาการอย่างนี้กันบ้างไหมนอนตื่นสายทั้งๆ ที่เมื่อคืนก็ไม่ได้นอนดึกนอนมาก ตื่นก็สาย แต่ทำไมไม่สดชื่น แถมมีอาการง่วงๆ ซึมๆ อีกต่างหากหงุดหงิด อารมณ์เสียง่าย ความสามารถในการจำลดลงตกบ่ายก็เกิดอาการหาว และอยากนอนไม่ว่าเพศใด วัยใด น้ำหนักขนาดไหน ถ้าหากมีอาการที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกับอาการต่างๆ เหล่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    สร้างความเข้าใจต่อทัศนคติทางด้านจิตอย่างถูกต้องการพัฒนาทัศนคติทางจิตวิทยาที่ถูกต้องคือสาระในโยคะบำบัด ทัศนคติที่มีในเรื่องทั่วๆ ไป ทัศนคติที่มีต่อสิ่งรอบตัวที่เฉพาะเจาะจงมีความสำคัญยิ่งไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม ไม่เพียงต่อด้านกายจิตสัมพันธ์ ต่ออาการเรื้อรัง ต่อกลไกการสันดาป ต่อความเจ็บป่วย แต่ยังรวมไปถึงต่อการอักเสบด้วย มองมนุษย์เป็นองค์รวมโยคะไม่ได้มองมนุษย์ว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๙)"ถ้าคุณรู้สึกว่าเจ้านายคุณในที่ทำงานทำกับคุณอย่างไม่ยุติธรรม มันอาจจะมีปัจจัยอื่นๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่ว่ามันจะเป็นเพราะคุณเท่านั้น เช่น มีเรื่องอื่นๆ ที่ทำให้ เขาไม่สบายใจ หรือว่าทะเลาะกับภรรยามาเมื่อเช้านี้หรืออื่นๆ พฤติกรรมของเขาอาจจะไม่เกี่ยวกับคุณโดยเฉพาะ แน่นอนว่าคุณก็ต้องเผชิญสถานการณ์ไปอย่างที่มันเป็น แต่อย่างน้อยโดยวิธีนี้ (คือรู้ว่าอาจมีปัจจัยอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    ชงโค : เสน่ห์แห่งใบและดอกจากพงไพรผู้เขียนเคยนำเสนอเรื่องลั่นทมหรือต้นจำปา (ลั่นทม) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติลาว แต่คนไทยปัจจุบันรู้จักในชื่อใหม่ว่า "ลีลาวดี" ขึ้นต้นคอลัมน์ว่าด้วยชื่อก็เพราะดอกไม้ไทยหลายชนิดมีคุณสมบัติต่างๆ มากมาย ทั้งความงามและคุณประโยชน์ แต่บังเอิญมีชื่อที่ไม่ถูกใจคนไทย หากมีการเปลี่ยนชื่อก็อาจได้รับความนิยมอย่างล้นหลามเช่นเดียวกับลีลาวดี (ลั่นทม) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ศิลปะกับการพัฒนาสมองมนุษย์เรารู้กันมานานแล้วว่าศิลปะคือสิ่งจรรโลงจิตใจมนุษย์ช่วยให้มนุษย์มีจิตใจที่อ่อนโยน สงบ และไม่หยาบกระด้าง เราใช้ศิลปะบางแขนงช่วยในการเยียวยาความเจ็บป่วยของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ นี่คือคุณประโยชน์ของศิลปะที่เรารับรู้ แต่ก็ยังไม่มีใครบอกได้ว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    นิยามของโรคในโยคะ และหลักการรักษาของโยคะโยคะเป็นเรื่องของใจและจิตวิญญาณ แต่จากการศึกษาโยคะสูตรของปตัญชลี อย่างพินิจพิเคราะห์ ก็จะพบว่าโยคะมองกายใจเป็นหนึ่งเดียวเป้าหมายของโยคะ ก็เพื่อนำมาซึ่งหนทาง วิธีการในอันที่จะช่วยร่างกายและจิตใจให้คงความสมดุล หรือฟื้นฟูความสมดุลให้กลับคืนมาโดยเร็ว เมื่อเกิดการรบกวนขึ้นดังนั้น โยคะจึงผนวกรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงในการดูแลกาย เช่น อาสนะ ปราณยามะ ...