อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    มรรควิถีของโยคะจากอดีตถึงปัจจุบันคอลัมน์โยคะ นิตยสารหมอชาวบ้าน ได้เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เราได้พูดกันถึงเทคนิคท่าโยคะอาสนะ เทคนิคปราณยามะ ได้มีการพูดถึงการประยุกต์เทคนิคโยคะเพื่อใช้ในการบำบัดรักษาโรค เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องที่คนทั่วไปรับทราบกัน เราจะมาลองดูเรื่องราวของโยคะที่ละเอียดลงไปอีก บ้างยังไม่เป็นที่รู้จัก หรือบ้างก็เป็นที่รับรู้จากศาสตร์สาขาอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    อาโรคยปรมา ลาภา "ความไม่มีโรค เป็นลาภอย่างยิ่ง"คำกล่าวนี้ทุกคนคงเห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นโรคทางกาย ใจ หรือจิตวิญญาณ โดยเฉพาะผู้อ่าน "หมอชาวบ้าน" และหลายคนก็คงทราบกันแล้วว่า เวลาเราเจ็บไข้ได้ป่วย เกิดจากสาเหตุใหญ่ๆ ๒ สาเหตุ๑. เชื้อโรคเข้าไปในร่างกาย เช่น บิด อหิวาตกโรค วัณโรค เป็นต้น๒. การใช้ชีวิตไม่ถูกต้อง รวมทั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีมลพิษ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    ปราณยามะ 5เราได้อธิบายเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับลมหายใจกันมาหลายฉบับแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกลไกการหายใจอัตโนมัติ การทำความรู้จักกับการหายใจด้วยทรวงอก (ใช้กล้ามเนื้อซี่โครงหายใจ) การหายใจด้วยหน้าท้อง (ใช้กล้ามเนื้อกะบังลมหายใจ) คราวนี้เรามาเข้าเรื่องปราณยามะกันเสียที ปราณ หมายถึง ลมหายใจ ยามะ หมายถึง การควบคุมดังนั้น ปราณยามะ หมายถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    ปีบ : ราชินีจากป่าภาคตะวันตกขณะที่เขียนต้นฉบับต้นไม้ใบหญ้าฉบับนี้ เป็นช่วงต้นเดือนสิงหาคม ใกล้ถึงวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ อันถือเป็นวันแม่แห่งชาติของคนไทย เดือนสิงหาคมนับเป็นเดือนที่อยู่ในตอนกลางของฤดูฝน อาจถือได้ว่ามีฝนตก (โดยเฉลี่ย) สูงที่สุดเดือนหนึ่งในรอบปี โดยเฉพาะแถบภาคกลาง ซึ่งรวมภาคตะวันตกเอาไว้ด้วย เมื่อนึกถึงภาคตะวันตกของไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 304 สิงหาคม 2547
    "นางแย้มเหมือนแม่แย้มยินดี ร่อนา ต้องดุจมือเทพี พี่ต้อง..."ที่ยกมาข้างบนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโคลงสี่สุภาพจากเรื่องลิลิตพระลอ อันเป็นวรรณคดีไทยยุคต้นกรุงศรีอยุธยา มีอายุราว 500 ปีมาแล้ว นับเป็นวรรณคดีไทยเก่าแก่ ที่สุดเรื่องหนึ่งที่คนไทยรู้จักกันดี มีผู้รู้ ทางภาษาและหนังสือบางท่านเคย ตั้งข้อสังเกตว่า โครงเรื่องของลิลิตพระลอ มีความเป็นสากลด้านสร้างความสะเทือนใจอย่างสูง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 303 กรกฎาคม 2547
    ตีนเป็ด :คุณค่าจากผืนป่าสู่ชีวิตปัจจุบันผู้เขียนมีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตรนานาชาติเรื่อง "นิเวศน์เกษตร" (Ecological Agriculture)จัดโดย องค์กรจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ประเทศอินเดียเมื่อปี พ.ศ.2529 ยังจำได้ว่าวิชาสำคัญอย่างหนึ่งที่เขาสอนและฝึกฝนให้คือ การสังเกต (observation) เพราะหัวใจของระบบเกษตรที่สอดคล้องกับระบบนิเวศหรือธรรมชาติก็คือ เข้าใจและทำให้สอดคล้องเหมาะสม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงามธนนท์ ศุขสุขภาพ ไม่สามารถซื้อหาได้ แต่จะต้องปฏิบัติด้วยตัวเองเพราะสุขภาพเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของแต่ละบุคคล คน100 คนก็มีวิถีชีวิต100 รูปแบบที่แตกต่างกัน ทว่ารูปแบบหรือหลักแห่งการดำเนินชีวิตของบุคคลอื่นนั้น บางสิ่งบางอย่างสามารถถ่ายทอด แนะนำให้เพื่อนพ้องน้องพี่สามารถนำไปปรับใช้ และเกิดผลในทางที่ดีขึ้นต่อสุขภาพ ด้วยข้อจำกัดของเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ไอคิว2 ตอน...ไอคิวบอกอะไรจ๊ะพญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณสวัสดีจ้ะ ลูกๆ เอ้าวันนี้ช่วยคุณพ่อคุณแม่ทำงานบ้าน และทำการบ้านเสร็จหมดทุกคนแล้วใช่ไหม เอานั่งเรียงกันเข้ามาฟังเรื่อง ไอคิว ต่อจากเมื่อวานนะจ้ะ อ้อ แต่ก่อนที่จะคุยกันต่อ ลูกๆ อาจจะสงสัยว่า เรื่องนี้มันสำคัญอย่างไร ลูกๆ คงจะเห็นว่าประเทศไทยเรายังมีปัญหาอีกมากมายซึ่งต้องการรวมพลังกันแก้ไขจะแก้ไขได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ทองกวาว : ความงามร้อนแรงแห่งฤดูแล้งเดชา ศิริภัทร/มูลนิธิข้าวขวัญปีนี้เป็นปีที่ถูกคาดหมายอย่างเป็นทางการจากกรมอุตุนิยมวิทยา ว่าจะเป็นปีแห่งความแห้งแล้งและร้อนจัดมากปีหนึ่งในรอบหลายๆ ปีที่ผ่านมา ในช่วงที่อากาศร้อนที่สุดในรอบปีคือเดือนเมษายนนี้คาดว่าอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง43 องศาเซลเซียส ซึ่งสูงเทียบเท่าสถิติสูงสุดในรอบ70 ปีเลยทีเดียว สำหรับความแห้งแล้งยังประเมินได้ไม่ชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    การให้น้ำกับสวนบำบัดในการทำสวนบำบัด กิจกรรมที่ยากที่สุด คือ การรดน้ำพืชและต้นไม้ในสวน การที่จะขนแบกถังน้ำเพื่อนำไปรดน้ำไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับคนทำสวนโดยเฉพาะถ้าคนทำสวนเป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ น้ำ ๑ ลิตร หรือ ๑,๐๐๐ ซีซีหนัก ๑ กิโลกรัม ถังน้ำใบหนึ่งอาจจุน้ำ ๕-๑๐ ลิตร หนัก ๕-๑๐ กิโลกรัม การขนเพียง ๒ เที่ยวอาจไม่มีปัญหา แต่ถ้าต้องขนหลายเที่ยว อาจทำให้กล้ามเนื้อล้า ...