โรคหัวใจ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 เมษายน 2531
    น.พ.สันต์ หัตถีรัตน์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ยาแอสไพรินสามารถช่วยสำหรับโรคหัวใจชนิดเดียวเท่านั้นคือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไม่สามารถป้องกันภาวะหัวใจวายจากโรคหัวใจอื่นๆได้แต่ข่าวที่ออกมาทางสื่อมวลชนทั่วไปหรือการโฆษณาของบริษัทยา มักจะใช้คำว่า “หัวใจวาย” อันที่จริงหัวใจวายเกิดจากโรคหัวใจได้หลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 เมษายน 2531
    โรคหัวใจมีหลายประเภท ที่สำคัญก็คือ โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหัวใจรูห์มาติก โรคเหน็บชา โรคหัวใจอักเสบ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม และโรคหัวใจซึ่งเกิดจากโรคอื่น เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคซีด โรคต่อมธัยรอยด์ เป็นต้นตามสถิติกระทรวงสาธารณสุข โรคหัวใจเป็นสาเหตุสำคัญของการตายอันดับต้นๆของประเทศโรคหัวใจที่สำคัญที่สุดคือโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ซึ่งมีสถิติเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    น.พ.สาโรช รัตนากร หัวหน้ากองวิชาการ สำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร เผยว่า ปัจจุบันคนกรุงเทพฯป่วยด้วยโรคหัวใจเป็นอันดับหนึ่งในบรรดาโรคไม่ติดต่อทั้งหลาย กทม.ได้ตระหนักถึงสวัสดิภาพของประชาชนเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพอนามัยดังนั้น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจควรป้องกันการเป็นโรคหัวใจโดยกินอาหารพอดี ครบทุกหมู่ ไม่มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุเกิน 40 ปี ไม่ควรกินเนื้อสัตว์มาก ถึงแม้ว่าจะเป็นเนื้อสันนอก สันใน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    ศ.น.พ.พิชัย ตันไพจิตร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า หากร่างกายได้รับโคเลสเตอรอลในปริมาณมากเกินไปจะทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้ เนื่องจากหลอดเลือดแดงแข็ง ผู้ป่วยอาจจะถึงแก่กรรมเมื่อเป็นโรคนี้ตั้งแต่แรกที่บ้าน มาถึงโรงพยาบาลอาจถึงแก่กรรมระหว่างการรักษา พวกที่หายกลับบ้านก็ไม่สามารถประกอบกิจการงานตามปกติได้ บางรายมีอาการแสดงออกทางร่างกาย เช่นมีปื้นเหลืองที่ผิวหนัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหัวใจผู้ป่วยโรคหัวใจหลังจากเข้ารับการรักษาและกลับบ้าน มักจะมีปัญหาในเรื่องการปฏิบัติตัว เพราะผู้ป่วยบางคนคิดว่าแม้จะรักษาหายแล้วแต่ร่างกายอาจไม่ปกติ การทำงานอะไรก็ไม่เต็มที่ รู้สึกกลัวว่าจะเกิดอาการหัวใจวายได้ จนบางครั้งมีผลให้เกิดความเครียด กลับเป็นโรคหัวใจได้อีกครั้งดังนั้น การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหัวใจจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    ค้นหาโรคหัวใจในภาคแรกเราได้พูดถึงลักษณะทั่วไปของโรคหัวใจ ว่าเกิดขึ้นกับคนจำพวกไหน หรือกลุ่มไหนมีความมาอย่างไร และใครบ้างมีโอกาสจะถูกแจคพอทตายจากโรคหัวใจขณะออกกำลังกาย ตลอดจนการวิ่งมีผลดีอย่างไรต่อหัวใจ ทั้งในแง่ป้องกันและรักษา มาถึงตอนนี้ เราจะมาดูกันว่า อาการของของโรคหัวใจเป็นอย่างไรโดยละเอียด และเราจะรู้ (หรือไม่รู้) ได้ไหมว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2526
    ไข่ เป็นอาหารที่สำคัญประจำบ้านอย่างหนึ่ง หาซื้อได้ง่าย การเก็บรักษาและการเตรียมเพื่อกินก็ทำได้สะดวก สามารถปรุงเป็นอาหารได้หลายชนิด นับตั้งแต่อาหารที่เป็นไข่ล้วนๆ อาทิเช่น ไข่ลวก, ไข่เจียว, ไข่ดาว, ไข่กวนน้ำ (แกงจืดไข่), ไข่ลูกเขย, ไข่หวาน และฝอยทอง นอกจากนี้ ยังมีอาหารทั้งคาวและหวานอีกมากมาย ที่มีส่วนประกอบทำมาจากไข่ที่คุ้นๆ กันก็คงมี ไข่ยัดไส้, ไข่เจียวหมูสับ, ข้าวผัดใส่ไข่, ทองหยิบ, สังขยา, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    โรคหัวใจฉบับที่แล้ว “โรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศไทย” ได้กล่าวถึงโรคที่เรียกกันเองแต่ไม่ใช่โรค คือ1.“โรคหัวใจอ่อน2.“โรคหัวใจโต”3.“โรคหัวใจวาย” กับ “ภาวะหัวใจล้ม”และโรคที่เกิดจากโรคหัวใจจริง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    โรคหัวใจโรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศ คือ1.)โรคหัวในอ่อน“โรคหัวใจอ่อน” หรือบางคนอาจะเรียกว่า “โรคประสาทหัวใจ” หรือบางครั้งก็อาจจะมีชื่อแปลก ๆออกไป ทำให้คิดว่าเป็นเรื่องอื่น ๆ เช่น “โรคหัวใจวาย” “โรคความดันเลือดต่ำ” “โรคเลือดน้อย” เป็นต้น อาจจะกล่าวได้ว่าโรคนี้ หรือภาวะอย่างนี้พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคหัวใจทั้งหลาย ทั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 38 มิถุนายน 2525
    ไข้รูห์มาติคโรคข้ออักเสบในเด็ก ชื่อนี้คงคุ้นหูคุ้นตาคุณผู้อ่านที่ติดตาม “หมอชาวบ้าน” มาตั้งแต่แรก เพราะทุกครั้งที่กล่าวถึงโรคต่อมทอนซิลอักเสบ (ไข้เจ็บคอ) หรือโรคลิ้นหัวใจพิการ เรามักจะพูดถึง ...