โรคช่องปากและฟัน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    ลิ้นเป็นร่องคนบางคนอาจมีลิ้นแตกเป็นร่องหากเป็นร่องในแนวยาว (ตั้งฉากกับแนวริมฝีปาก) ดังภาพที่ 1 โดยไม่มีอาการเจ็บแสบ หรืออาการผิดปกติอื่นใด ก็ถือเป็นเรื่องปกติธรรมดา ไม่ได้เป็นโรคอะไรเด็กที่เป็นโรคปัญญาอ่อน หน้าตาดูแปลกๆ มาตั้งแต่เกิดดังที่เรียกว่า โรคดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome) อาจพบลิ้นแตกเป็นร่องขวาง ดังในภาพที่ 2
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    กรน... มลภาวะยามพักผ่อน“ครืดคราด...ฟี้” เชื่อว่าคุณคงรู้จักเสียงนี้กันทุกคน บ้างก็คุ้นเคยจนเห็นเป็นเรื่องปกติธรรมดา คืนไหนถ้าไม่ได้ยินอาจทำให้นอนไม่หลับไปเลย แต่ที่แน่ๆ หลายคนคงลงมติเป็นเอกฉันท์ว่า เสียงกรนเป็นมลภาวะสำหรับคนข้างเคียงเป็นอย่างยิ่งจริงๆ แล้วการกรนเป็นอาการอย่างหนึ่งเท่านั้น ในทางการแพทย์ไม่จัดเข้าข่ายว่าเป็นโรคใดๆ การกรนมักจะเป็นกัน 1 ใน 8 ของคนที่นอนหลับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    ยาสีฟัน คุณรู้จักแล้ว...จริงหรือบ่อยครั้งที่ผมมักจะถูกผู้ป่วยถามว่าจะใช้ยาสีฟันยี่ห้ออะไรดี ยาสีฟันอย่างไหนแปรงแล้วจะทำให้ฟันขาวขึ้น อย่างไหนป้องกันฟันผุได้ดีกว่ากัน ฯลฯ ผมเลยขอถือโอกาสคุยกับท่านผู้อ่านถึงเรื่องยาสีฟันกันในครั้งนี้เลยนะครับยาสีฟันดูเหมือนจะเป็นของจำเป็นในชีวิตประจำวันของคนเราในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะคนในเมืองที่ต้องมีการติดต่อพูดจากับคนอื่นอยู่ตลอดเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    กลิ่นปากหากมีใครสักคนซึ่งถึงแม้จะเป็นคนใกล้ชิดของท่านทักว่า “ปากเหม็น” ท่านคงจะเกิดความละอายหรืออาจนึกโกรธในใจ หรือในหลายๆท่านที่ยังไม่เคยมีใครมาทักท่านเรื่องปากเหม็น แต่ตัวท่านเองมีความรู้สึกว่าตัวเองมี “กลิ่นปาก” อยู่เสมอ ก็จะทำให้ท่านเกิดความกังวลใจ ไม่แน่ใจในเรื่องกลิ่นปากของตัวเอง เป็นผลทำให้ความเชื่อมั่นของท่านในการเข้าสังคมลดลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    หยุดโรคเหงือกกันเถอะคงมีคนน้อยคนที่จะไม่เคยอ่านหรือได้ยินประโยคที่ว่า “ฟ.ฟันสะอาดจัง” แต่ถ้าพูดถึง “ง.เหงือก” แล้วคงมีคนพูดถึงน้อย อันที่จริง กระทรวงสาธารณสุขน่าจะขอให้กระทรวงศึกษาเปลี่ยนข้อความในบทเรียน ตรง ง.งูใจกล้าเป็นง.เหงือกอ่อนล้า ซะให้รู้แล้วรู้รอดไปเลย เพราะอาจทำให้คนหันมาสนใจเหงือกกันมากขึ้น เนื่องจากสงสัยว่าทำไมเหงือกมันถึงได้อ่อนล้านักเขาว่าอะไรที่ไม่มีปัญหา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์ แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุน และการซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของร่างกายดังนั้นการได้กินอาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงคอลัมน์ “กินถูก...ถูก” ได้รับความร่วมมือจากสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับนี้เสนอเรื่อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 125 กันยายน 2532
    ฟันจ๋าอย่าจากเหงือกไปมีการเปรียบคนที่มักกระทบกระทั่งกันว่า เหมือนลิ้นกับฟัน ก็เลยมีบางคนบอกว่าเวลารักกันนั้น ควรเปรียบว่า รักกันเหมือนฟันกับเหงือก เพราะฟันกับเหงือกนั้น ต้องอยู่คู่กันให้นานที่สุดจนแก่จนเฒ่า เรามาดูความสำคัญของฟันและเหงือกกันว่ามีอะไรบ้างฟันที่ดีช่วยเสริมให้บุคลิกดีช่วยให้บดเคี้ยวอาหารได้ละเอียดช่วยให้การออกเสียงได้ดีทำให้ไม่มีกลิ่นปากทำให้ไม่มีเชื้อโรคจากฟัน (ผุ) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 125 กันยายน 2532
    ลิ้นมันเรียบปกติ ลิ้นของคนเราจะมีลักษณะสากๆ เล็กน้อยถ้าลิ้นมีลักษณะมันเรียบดังภาพนี้ ก็อาจพบร่วมกับโรคเลือดจาง (หน้าตาซีด เซียว) โรคลำไส้ไม่ดูดซึมสารอาหาร (อาจมีอาการถ่ายท้องเรื้อรัง) หรือเกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลานานก็ได้หากสงสัยก็ควรจะปรึกษาแพทย์ให้แน่ใจ
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 124 สิงหาคม 2532
    ลิ้นแห้งเมื่อร่างกายขาดน้ำ เช่น ขณะมีไข้ (ตัวร้อนจัด) ถ่ายท้องมากหรืออาเจียนจนกินอะไรไม่ได้ จะมีสิ่งบอกเหตุที่สังเกตได้ง่ายๆ อยู่ 3 อย่าง คือ1. ปัสสาวะออกน้อย หรือไม่ออกเลย ปัสสาวะจะมีสีน้ำชาเข้ม2. ลิ้นแห้ง3. ริมฝีปากแห้งนอกจากนี้อาจมีอาการกระหายน้ำ ตาลึกโบ๋เมื่อสงสัยว่าร่างกายขาดน้ำ อย่าลืมแลบลิ้นดูว่ามีลักษณะแห้งผาก ดังภาพข้างบนนี้หรือไม่
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 124 สิงหาคม 2532
    ช่วยดูแลฟันน้ำนมเมื่อไม่นานมานี้ อ่านหนังสือของกระทรวงสาธารณสุขเล่มหนึ่ง ชื่อหนังสือเขียนไว้ว่า “การกำหนดเป้าหมายทางทันตสุขภาพของประเทศไทย เพื่อบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543” เนื้อหากล่าวถึงแนวทางควบคุมโรคในช่องปากของคนไทยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นให้คงที่หรือลดต่ำลง เพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดีกันอย่างแท้จริง มีสิ่งหนึ่งที่สะดุดตามากในหนังสือเล่มนี้ เป็นรายงานเกี่ยวกับการเกิดโรคฟันผุในเด็กไทย ...