โรคช่องปากและฟัน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    ปากแหว่ง – เพดานโหว่ หมดปัญหาได้ความพิการอย่างหนึ่งของช่องปากและอวัยวะโดยรอบที่นำความทุกข์ใจมาสู่ผู้ป่วยและผู้ใกล้ชิดเป็นอย่างมาก คือ ปากแหว่งและเพดานโหว่ ซึ่งยากแก่การทำนายและป้องกัน แต่ในปัจจุบันด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถแก้ไขความผิดปกตินี้ได้ทั้งในระยะแรกคลอดหรือเมื่อโตแล้ว และแม้กระทั่งในผู้ใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    เมื่อฟันอักเสบหากท่านไปพบทันตแพทย์ด้วยอาการปวดฟันสุดแสนทรมาน แล้วทันตแพทย์แนะนำให้ท่านถอนฟัน ท่านจะรู้สึกทรมานใจมากเสียกว่าความปวดทรมานจากโรคฟันหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    กว่าจะเป็นนางงามเมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ท่านผู้อ่านหลายท่านคงยังจำบรรยากาศอันน่าชื่นตาชื่นใจได้เหมือนผมที่ได้เห็นกลุ่มสาวงามที่งามที่สุดจำนวนหนึ่งของประเทศไทย มาปรากฏโฉมให้พวกเราได้ชมทางจอโทรทัศน์ แต่ละคนล้วนสวยงาม โดยเฉพาะใบหน้าและรอยยิ้มที่ประทับใจผู้ชม ทุกคนล้วนยิ้มกันได้อย่างกว้างขวาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    การใช้และดูแลรักษาฟันปลอมอาหารเย็นวันนี้ขาดคุณพ่อไปคนหนึ่ง เพราะคุณพ่อติดประชุมและจะเลยไปงานเลี้ยงกับเพื่อนๆ ต่อเลย ทั้งคุณยาย คุณแม่ และนัทธ์ จึงลงมือกินอาหารเย็นกันตามปกติ“น้ำพริกอ่องนี่อร่อยดี คุณแม่เอาอีกหน่อยนะคะ” คุณแม่ถามขึ้นเมื่อเห็นคุณยายรวบช้อนส้อมทำท่าจะอิ่ม“ไม่ล่ะจ้ะ เดี๋ยวแม่จะไปบ้วนปากสักหน่อย” คุณยายเดินไปที่อ่างล้างหน้าใกล้ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    แผลร้อนในคุณเคยเป็นแผลในปากไหมครับผมเชื่อแน่ว่าคุณผู้อ่านส่วนใหญ่คงเคยมีประสบการณ์การเป็นแผลในปากมาบ้างแล้วไม่มากก็น้อย และคงจำรสชาติของความเจ็บแสบได้ดีนะครับ ยิ่งพวกเราคนไทยชอบกินอาหารรสจัดแบบไทยๆ ถ้าเจอน้ำพริกตอนเป็นแผลในปากล่ะก็ น้ำตาร่วงคาชามข้าวเลยละครับแผลในปากมีหลายประเภทซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ แผลแอฟทัส (aphthous stomatitis) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    คุยกันเรื่องฟันผุช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมานี้ มีจดหมายถามเกี่ยวกับเรื่องของฟันเข้ามามากมาย คอลัมน์ “สุขภาพช่องปาก” ครั้งนี้ จึงได้ถือโอกาสรวบรวมคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับฟันผุ ทั้งที่เกิดขึ้นในเด็กและผู้ใหญ่มาลงเพื่อเป็นการเปลี่ยนบรรยากาศกันบ้าง ซึ่งคำถามต่างๆ ที่ส่งมานี้ทั้งคุณหมอประทีป พันธุมวนิช (รายแรก) และคุณหมอเพ็ญพรรณ เลาหพันธ์ (รายที่ 2) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ผลของการเคี้ยวหมากใครก็ตามที่เป็นโรคนี้จนถึงขั้นที่สามารถคลำได้แผ่นพังผืดด้านๆ ที่ใดที่หนึ่งในช่องปากแล้วล่ะก็ จงรู้ไว้เถอะว่า เขาผู้นั้นจะไม่มีวันหายขาดจากโรคนี้ ซ้ำยังจะต้องทนทุกข์มากขึ้น เพราะโรคจะลุกลามต่อไปเรื่อยๆ ถึงขนาดอ้าปากกินอาหารไม่ได้เลยทีเดียวแม้ว่าค่านิยมของการเคี้ยวหมากนับวันจะน้อยลงทุกทีในกรุงเทพมหานคร และหัวเมืองใหญ่ๆ เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น เป็นต้น แต่ในท้องถิ่นชนบท ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ลิ้นเป็นแผลสีขาวในภาพนี้ สังเกตเห็นรอยฝ้าหนาๆ สีขาว ตรงบริเวณโคนลิ้นฝ้าหนาๆ นี้เกิดจากการหนาตัวของเยื่อบุลิ้น เนื่องจากถูกสิ่งระคายเคืองเรื้อรัง เช่น ควันบุหรี่ หมากพลู ของร้อนๆ เป็นต้นถ้าพบลิ้นเป็นฝ้าขาวๆ แบบนี้ ลองใช้ปลายด้ามช้อนเขี่ยดูเบาๆ รอยฝ้านี้จะติดแน่นเป็นเนื้อเดียวกับลิ้น ซึ่งผิดกับโรคลิ้นขาวจากเชื้อรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ปวดฟันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ผมมีโอกาสเดินทางไปต่างประเทศ เผอิญได้ไปเจอกับคนไทยกลุ่มกลุ่มหนึ่งที่นั่น พอรู้ว่าผมเป็นทันตแพทย์ก็รีบตรงรี่เข้ามาปรึกษา บอกว่าหนึ่งในคณะที่ไปเที่ยวด้วยกันกำลังปวดฟัน ผมพอจะช่วยอะไรได้บ้างไหม พอดีผมก็มีแต่ยาแก้ปวดติดตัวไป เลยให้ยาไปกินพอแก้ขัด จะได้เที่ยวต่อโดยไม่เซ็งจนเกินไปพูดถึงปัญหาเรื่องปวดฟันนี่ ผมเองตอนเด็กๆก็เคยปวดฟันเหมือนกัน เป็นอาการปวดที่ทรมานมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    ฟันผุที่รากฟัน“สองวันมานี้ คุณปู่บ่นเรื่องเสียวฟัน และเคี้ยวอาหารไม่ปกติ คุณว่าท่านฟันผุหรือเปล่านะ”“ท่านเป็นคนหนึ่งที่มีฟันดีมาก ไม่เคยถอนฟันเลย หรือว่าท่านเป็นโรคเหงือกอักเสบ”“แต่ท่านก็ไม่เคยบ่นว่าฟันโยกหรือคลอนเลยนี่นะ ฉันได้ยินมาว่า คนที่เป็นโรคเหงือกมักจะมีเลือดออกตามไรฟัน หรือฟันโยกไม่ใช่หรือ”“นั่นน่ะซิ ...