โรคช่องปากและฟัน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    การครอบฟัน (ตอนที่ 1)หลายท่านคงรู้จักครอบฟัน (crown) หรือเคยทำครอบฟันมาแล้ว ในการทำครอบฟันนั้นมีวัสดุหลายชนิดที่สามารถเลือกใช้ได้ตามความประสงค์ที่แตกต่างกันไป อาจจะเป็นการลำบากที่จะจดจำได้ทั้งหมดสำหรับคนไข้อย่างเราๆท่านๆ บางครั้งบางท่านอาจปล่อยให้เป็นไปตามวิจารณญาณของทันตแพทย์ผู้ให้การรักษาโดยฝ่ายเดียว พูดง่ายๆว่า ตัดปัญหายุ่งยากที่จะต้องขบคิดเอง หรือบางท่านอาจเกรงใจหมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การใช้แสงเลเซอร์กับฟันของเราเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในฉบับเดือนมีนาคม ผมได้เล่าถึงบทบาทของการประยุกต์ใช้แสงเลเซอร์ในงานด้านต่างๆทางทันตกรรมไปบ้างแล้ว ต่อไปจะเป็นรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกการทำงานของแสงเลเซอร์ในบางกรณี เพื่อจะได้พอเห็นภาพและเข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2537
    เครื่องมือ “กันที่” (กันฟันล้ม)ฉบับนี้เรามาทำความรู้จักเครื่องมือชนิดหนึ่งที่จะต้องใส่ไว้ในปาก ซึ่งคุณพ่อคุณแม่หลายท่านก็คงจะเคยกันมาบ้างแล้ว โดยที่อาจจะยังไม่ค่อยเข้าใจนักว่า ทำไมลูกของตัวจึงต้องใส่เจ้าเครื่องมือนี้ด้วยเครื่องมือนี้เรียกกันว่าเป็นเครื่องมือ “กันที่” ซึ่งก็เรียกตามหน้าที่การงานของมันนั่นเอง เพราะเจ้าเครื่องมือที่ว่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ปาก : ประตูสู่สุขภาพหลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าวนี้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะปากเป็นช่องทางนำอาหารมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับร่างกายนั้นก็เริ่มต้นตั้งแต่ในปากเลยทีเดียว เริ่มตั้งแต่การบดเคี้ยวให้อาหารเป็นชิ้นเล็กลง เพื่อให้การย่อยอาหารเป็นไปได้ง่ายขึ้นซึ่งจะช่วยให้คนๆ นั้นได้รับสารอาหารตามที่ควรจะได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    แสงเลเซอร์กับงานทันตกรรมเพื่อให้ไปกันได้กับยุคโลกานุวัตร (Globalization) จึงจะขอนำเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในงานทันตกรรมมาเล่าสู่กันฟัง ซึ่งในอนาคตเทคโนโลยีตัวนี้คงจะเข้ามาทีบทบาทในวงการทันตแพทย์มากพอๆ กับที่กำลังแสดงบทบาทในวงการแพทย์อันได้แก่ การผ่าตัดน้อยใหญ่ทั้งหลายในปัจจุบันนี้ สำหรับโอกาสนี้จะขอนำเสนอในลักษณะนำร่องให้พอเห็นภาพกว้างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    สุขภาพฟันกับสิ่งแวดล้อม ในช่วงที่เพิ่งจะผ่านพ้นปีใหม่มาไม่นานนี้ ท่านผู้อ่านคงจะยังมีความสุขสบายใจมากพอที่จะแบ่งปันไปยังคนอื่นๆ ในสังคม และมีแรงที่จะช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมสังคมของเราให้น่าอยู่มากขึ้น เรื่องที่จะเล่าให้ฟังในครั้งนี้ก็หวังจะให้เป็นการกระตุ้นให้มีการสังเกตสังกาในความผิดปกติก่อนที่จะสายเกินไป เพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและสังคมต่อไปเป็นที่น่ายินดี ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    หินปูน, เหงือกร่นผู้ถาม : นงลักษณ์ / กรุงเทพฯผู้ตอบ : พ.ญ. สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญาอยากทราบว่า การขูดหินปูนเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์หรือไม่หินปูนที่เกาะฟันมีสาเหตุเกิดจากอะไรหินปูนเป็นสารประกอบแคลเซียมที่ตกตะกอนเป็นผลึก จากการที่แคลเซียมในน้ำลานรวมตัวกับสารบางอย่างจากคราบจุลินทรีย์ (บางทีเรียกว่า “พลัก” [plaque] หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่า “ขี้ฟัน” นั่นเอง)ควรขูดหินปูนออกหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 มกราคม 2537
    ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบายฟันปลอมทั้งปากในที่นี้ หมายถึง ฟันปลอมชนิดถอดได้ที่มีโครงหรือฐานเป็นพลาสติก หรือโลหะร่วมกับพลาสติก และมีฟันเป็นพลาสติก ที่เรียกกันว่า full denture ในทางทันตกรรมโดยมากแล้วผู้ที่จะใช้ฟันปลอมแบบนี้ มักจะเป็นผู้สูงอายุที่สูญเสียฟันธรรมชาติไปหมดแล้ว และประสงค์ที่จะได้ฟันปลอมมาทดแทน แทนการใช้เหงือกเคี้ยวอาหารก่อนที่จะไปถึงวิธีการใช้ฟันปลอมชนิดนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ฟันสบกันไม่ดีหากสังเกตให้ดีบางท่านมักไม่ค่อยชอบยิ้ม ทั้งนี้ไม่ใช่ไม่อยากยิ้ม แต่ไม่กล้ายิ้มต่างหาก เหตุผลอาจเนื่องมาจากฟันหลอ ฟันเก หรือฟันยื่นออกมามากกว่าปกติพูดถึงเรื่องนี้ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวเตือนว่า ความพิการของฟันไม่เพียงแต่จะทำให้ดูไม่น่าพิสมัยเท่านั้นยังมีผลต่อสุขภาพของช่องปากในอนาคตอีกด้วย ปัญหาในช่องปากที่เราท่านพบเห็นกันบ่อยๆ อย่างเช่น ปวดฟัน พูดไม่ชัด เคี้ยวหรือกลืนได้ลำบาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ทางเลือกใหม่ของคนกลัวเข็มฉีดยานับจากนี้ไปอีกไม่นานนัก การฉีดยาชาเพื่อทำฟันบางอย่างบางชนิดจะถูกยกเลิกไป เนื่องจากจะมีการนำวิธีการใหม่ ที่ไม่ต้องอาศัยเข็มฉีดยามาใช้ในประเทศไทย โดยเฉพาะในวงการทันตแพทย์ เพื่อทำให้คนไข้ชาได้เช่นเดียวกับการฉีดยาชา เรื่องนี้คงเป็นข่าวดีสำหรับคนที่กลัวการฉีดยาชาอย่างแน่นอนวิธีการใหม่ที่ว่านี้เรียกว่า Dental Electronic Anesthesia แปลว่า ...