จิตอาสา/ ฉือจี้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    “หนีร้อนมาพึ่งเย็น” เป็นคำกล่าวที่น่าจะเหมาะสมที่สุดสำหรับการมาพักอาศัยในศูนย์อพยพมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมแห่งนี้ เพราะนอกจากจะเย็นกายแล้วก็ยังสุขใจอีกด้วย อาหารการกินก็พร้อมเสร็จสรรพ ครั้นเจ็บป่วยก็มีหมอคอยดูแล คอยรักษาอยู่ไม่ห่าง...ทว่าน้ำท่วมครั้งนี้เหมือนเป็นบทพิสูจน์จากฟ้า ที่ประทานความทุกข์ยากลงมาให้ได้รู้ว่ายังมีคนดีที่สามารถพึ่งพิงได้ คราบน้ำตาของผู้ประสบภัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ประสบการณ์การดูแลคนไข้จิตเวช โดยทีมผู้ให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชของโรงพยาบาลชุมชนเล็กๆ แห่งหนึ่งในภาคอีสาน ที่สะท้อนความคิดที่มีคุณค่าทั้งของผู้ให้การรักษาและของคนไข้สิทธิที่หายไปคนไข้จิตเวชหญิงวัยกลางคน หายออกจากบ้าน ญาติต้องออกตามหาและมาพบเธอที่เมรุเผาศพ ญาติพาเธอมารักษาที่โรงพยาบาล และเล่าให้พยาบาลผู้รักษาฟังว่า เธอชอบหนีออกจากบ้านเป็นประจำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมวัตถุไปต่อไม่ได้แล้วโดยไม่เกิดวิกฤติ ไม่มีทางอื่นที่มนุษย์จะรอดจากวิกฤตินอกจากปฏิวัติจิตสำนึกศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ปาฐกถาพิเศษเรื่อง "ระบบการศึกษาที่แก้ความทุกข์ยากของคนทั้งแผ่นดิน" ในงานประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษา ครั้งที่2 เรื่อง "จิตตปัญญา : ทางเลือก หรือทางรอดของสังคม?" จัดโดย ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    การเดินทางจากโรงแรม Natures' Village ที่เมืองตาลิไซ (Talisay) ไปยังพิพิธภัณฑ์ชุมชนชายทะเลสำหรับเด็กเมืองซาไกนั้น ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง เนื่องจากเส้นทางกำลังก่อสร้าง ผู้ร่วมทางชาวฟิลิปปินส์หลายคน บ่นว่าทำไมไปตั้งพิพิธภัณฑ์เสียห่างไกล แล้วใครจะไปดู น่าจะตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ จะได้มีเด็กไปดูมากๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    "เมื่อก่อนที่ยังไม่ได้ทำงานกับผู้ติดเชื้อ รู้จักแต่คำว่า precaution (ระวังไว้ก่อน) คอยย้ำเตือนเกี่ยวกับการติดต่อการแพร่กระจายของโรค คิดแต่ว่าต้องแยกผู้ป่วยไว้ต่างหาก แม้แต่ผู้ป่วยเด็กติดเชื้อยังรู้สึกว่าต้องดูแลเขาต่างจากเด็กทั่วไป หลังจากได้มาทำงานตรงจุดนี้ ได้เข้าใจเรื่องโรค แนวทางการรักษา และผลกระทบที่เกิดขึ้น ทำให้ความรู้สึกที่มีเปลี่ยนไป เด็กติดเชื้อมีวิถีชีวิตเหมือนเด็กปกติทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    เด็กๆ อยากรู้อยากเห็น สนใจสิ่งต่างๆ ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง อยากจับต้องดู แกะดู มีส่วนร่วมประเทศไทยมีพิพิธภัณฑ์เด็กแห่งแรกคือ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2543 ตามพระราชปรารภของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงปรารถนาให้เด็กไทยได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างกว้างขวาง โดยริเริ่มขึ้นในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 348 เมษายน 2551
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพจิตอาสาพาสร้างสุข"ตั้งแต่มาทำงานจิตอาสาที่โรงพยาบาล ๖ เดือน รู้สึกว่าสุขภาพของตัวเองดีขึ้น น้ำหนักลดจาก ๗๕ กิโลกรัม เหลือ ๖๘ กิโลกรัม ความดัน ไขมันในเลือด ที่เคยสูงก็คุมได้เป็นปกติ กลางคืนนอนหลับสบาย ที่สำคัญคือใจเย็นลง มีความอดกลั้นมากขึ้น อยู่กับครอบครัวด้วยความสงบสุข และอบอุ่นขึ้น..."คุณทองหล่อ อภินันท์รัตนกุล วัย ๕๘ ปี ซึ่งเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 346 กุมภาพันธ์ 2551
    ร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลก ธรรมสัญจร สู่มูลนิธิพุทธฉือจี้๑๖อรจิตต์ บำรุงสกุลสวัสดิ์พลังแห่งศรัทธา คือหลักประกันสุขภาพการศึกษาดูงานที่มูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวันในครั้งนี้ ถือว่าเป็นโอกาสดีที่สำคัญยิ่ง เนื่องจากมีท่านผู้ใหญ่ เช่น ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี และอาจารย์แพทย์หลายท่านร่วมอยู่ในคณะดูงานด้วย จากการดูงานมูลนิธิพุทธฉือจี้ที่ไทเปและฮวาเหลียน ๕ วัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    ประเวศ วะสีร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลก ธรรมสัญจร สู่มูลนิธิพุทธฉือจี้๑๕จันทพงษ์ วะสีคณะเดินทางเยี่ยมชมดูงานมูลนิธิพุทธฉือจี้* กลุ่มใหญ่ ประกอบด้วยผู้ดูงาน๓๒ ท่าน และอาสาสมัครอีก ๘ ท่าน นัดพบกันที่สนามบินดอนเมืองตั้งแต่ ๑๐.๓๐ น. เพื่อทำความรู้จักและกินอาหารกลางวันก่อนออกเดินทางเวลาบ่ายเราสองคนเดินทางแยกจากกลุ่มคณะเดินทาง ในตอนค่ำวันพุธที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 344 ธันวาคม 2550
    ประเวศ วะสีร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลกธรรมสัญจร สู่ มูลนิธิพุทธฉือจี้๑๔การแพทย์ด้วยหัวใจมนุษย์นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ตอนที่ ๑ ตามรอยพระโพธิสัตว์ครั้งนั้นได้มีภิกษุเป็นโรคท้องร่วงรูปหนึ่ง นอนจมอยู่กับกองอุจจาระปัสสาวะของตนเองไม่สามารถช่วยตนเองได้ ในเวลานั้นพอดีพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมพระอานนท์เสด็จพุทธดำเนินเยี่ยมเยียนภิกษุทั้งหลายตามเสนาสนะต่างๆ ผ่านไปพบเข้า ...