อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    เพื่อแก้ปัญหาภาวะขาดสารไอโอดีนของคนไทยทั่วประเทศที่อยู่สภาพวิกฤติ โดยเฉพาะประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ประสบปัญหามากที่สุด คือมีอัตราการใช้เกลือเสริมไอโอดีนเพียงร้อยละ ๓๕ (ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.๒๕๔๙) ขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้เสริมไอโอดีนในเครื่องปรุง ๔ ประเภท ได้แก่ เกลือบริโภค น้ำปลา น้ำเกลือปรุงอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    การดัดแปลงอาคารสถานที่และการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการในโรงพยาบาล เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาและเพื่อการเรียนรู้ที่มีคุณค่าคนพิการต้องการพึ่งตนเองคนพิการมิได้ต้องการให้ผู้อื่นช่วยเหลือตลอดเวลา คนพิการต้องการอิสระ ต้องการที่จะประกอบกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง ต้องการใช้ศักยภาพของร่างกายและจิตใจที่เหลืออยู่อย่างเต็มที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    การรักษาพยาบาลจะได้ผลดี นอกจากแพทย์ พยาบาล และทีมงานที่ร่วมดูแลคนไข้จะวินิจฉัยโรค ให้การรักษาพยาบาลถูกต้องแล้ว ยังต้องรู้จักตัวตนของคนไข้ด้วยสัมผัสเยียวยาคน คุณหมอท่านหนึ่งเล่าว่า วันหนึ่งเห็นคนไข้ที่เป็นอัมพาตทั้งตัว (แขนและขาอ่อนแรงทั้ง ๒ ข้าง) มาทำกายภาพบำบัด โดยคนไข้นั่งบนรถเข็น คุณหมอเพิ่งพบคนไข้เป็นครั้งแรก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    วันหนึ่งผมได้ไปเยี่ยมคุณป้าวัย ๖๐ ปีท่านหนึ่ง ที่เพิ่งฟื้นตัวจากโรคอัมพฤกษ์ ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในต่างจังหวัดเมื่อ ๒ เดือนก่อน อยู่ๆ คุณป้าซึ่งมีสุขภาพแข็งแรงดีมาตลอดเกิดมีอาการแขนขาซีกขวาอ่อนแรงไปซีกหนึ่ง สามีซึ่งเป็นอดีตนายทหารได้พาคุณป้าเข้าพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล ๔-๕ วันแล้วกลับมาพักฟื้นที่บ้าน ทางโรงพยาบาลได้ส่งทีมงานมาทำการฟื้นฟูร่างกายด้วยกายภาพบำบัดคุณป้าที่บ้าน จนอาการค่อยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย เรามักไม่ค่อยได้ยินคนพูดถึงประเด็นความสำคัญของญาติ ทั้งๆ ที่มีความสำคัญไม่น้อยต่อการรักษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ป่วยที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลและมีอาการหมดสติ หรือมีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความจำ ความคิดไม่สามารถสื่อสารกับแพทย์และพยาบาลได้อย่างถูกต้องกรณีเช่นนี้มักพบในผู้ป่วยหนัก กำลังจะเสียชีวิต หรือบางรายก็ไม่อาจคาดเดาได้ว่าจะเสียชีวิตหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ในช่วงนี้ มีความแปรปรวนของพลังชี่ของอากาศอย่างมาก เดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว เดี๋ยวฝนตก โอกาสที่คนจะเกิดโรคจากพลังชี่ของอากาศมากเกินไป หรือที่เรียกว่าเสียชี่ (邪气) หรือหยินชี่ (淫气) ซึ่งเป็นผลจากปัจจัยของตัวอากาศเอง และการปรับสมดุลของร่างกายบางครั้งพลังชี่ที่แปรปรวนอาจจะไม่ใช่เสียชี่ (邪气) สำหรับคนหนึ่ง แต่คนที่ร่างกายปรับตัวไม่ได้ ทำให้เกิดโรค ก็ถือว่าเป็นเสียชี่ (邪气) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    โครงการนี้เกิดจากแนวคิดที่ต้องการสร้างโอกาสให้ผู้ติดเชื้อเอดส์กับผู้ที่ไม่ติดเชื้อร่วมกันประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว และทำให้ผู้ติดเชื้อเอดส์อยู่ในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจจุดเริ่มต้นโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวคิดในการดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์อย่างเป็นองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชนทุกภาคส่วน เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอดส์เป็นที่พึ่งของตนเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2554
    ตั้งชื่อเรื่องไว้เช่นนี้ถือว่าค่อนข้างแรงสำหรับคนทั่วไป แต่สำหรับผู้ที่เคยรู้จักผู้เขียนหรือเคยอ่านหนังสือ “หมอปากหมา” ซึ่งเป็นหนังสือที่เขียนถึงความจริงในด้านต่างๆ ของวงการแพทย์ จะเข้าใจผู้เขียนมากขึ้นว่าต้องการจะสื่อถึงความมีสติในการใช้ยาทั้งแพทย์และผู้ป่วย เป็นแนวคิดในมุมมองของผู้เขียนที่สะท้อนภาพความแตกต่างโดยเน้นหลักการใช้ยาเท่าที่จำเป็นจริงๆกล่าวให้เข้าใจง่ายๆ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน เป็นวันเบาหวานโลก ถ้าเราถือหลัก Health For All หรือสุขภาพถ้วนหน้า เราก็ต้องถือหลัก “สุขภาพของคนเป็นเบาหวานถ้วนหน้า” หรือ Health For All Diabetes เบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากร ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและควบคุมอย่างดี โรคเบาหวานก่อให้เกิดภาระทางสุขภาพอย่างรุนแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    เดินกลางลมหนาว ลมหนาวเหน็บแนบหน้า สองขาสู้พาก้าวไปหนทางยังยาวไกล ใจแจ้งสุขทุกย่างก้าว สุรเกียรติ ...