-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
376
สิงหาคม 2553
พุทธศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่เคารพนับถือ เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนไทย มีความสำคัญต่อวัฒนธรรม ความเชื่อ ความหวัง และเป็นที่พึ่งทางใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อได้รับความทุกข์ เผชิญภาวะวิกฤติ หรือเจ็บไข้ได้ป่วยหลายโรงพยาบาลผสมผสานวิถีพุทธศาสนาเข้ากับการดูแลรักษาพยาบาล เพื่อเยียวยาคนเจ็บไข้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมห้องพระ การจัดตั้งพระพุทธรูป ห้องพระ ให้คนไข้และญาติกราบไหว้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
376
สิงหาคม 2553
ตามที่มีข่าวว่า น.ส.เคล่า มาร์เทลล์ นางงามรัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกาประจำปีนี้ ประกาศจะต่อสู้และรณรงค์ต่อโรคศีรษะล้านซึ่งเธอป่วยตั้งแต่เด็ก ด้วยการใช้สถานภาพดังกล่าว และการยอมรับตัวเองให้ผู้คนตระหนักต่อภัยของโรคดังกล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ นพ.ประวิตร พิศาลบุตร แพทย์โรคผิวหนัง ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ลักษณะดังกล่าวเป็นโรคผมร่วงแบบเป็นหย่อม (alopecia ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
376
สิงหาคม 2553
ความยินยอมรักษาของผู้ป่วยจะแสดงออกด้วยวาจา พฤติกรรมการแสดงออก หรือทำเป็นหนังสือก็ได้ แต่การรักษาบางอย่างจำเป็นที่จะต้องมีการบันทึกข้อมูลการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ที่ให้การรักษา เช่น กรณีต้องรับการผ่าตัดจากแพทย์ที่มีความซับซ้อน หรือมีความเสี่ยง เนื้อหาในหนังสือยินยอมฯ จะระบุข้อมูลวิธีการรักษาที่แพทย์จะดำเนินการ ผลการรักษาที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลความเสี่ยงต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
375
กรกฎาคม 2553
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ขณะนี้การสูบบุหรี่ในไทยมีแนวโน้มให้เห็นชัดเจนว่ามีบางกลุ่มเริ่มมีตัวเลขสูงขึ้น จากสถิติของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๕๒ พบว่าการสูบบุหรี่ผู้หญิงไทยมีค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับชายไทยในปี พ.ศ.๒๕๓๔ หญิงไทยสูบบุหรี่ร้อยละ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
375
กรกฎาคม 2553
Health Law 375 July.53 หมอชาวบ้าน ฉ.375 เดือนกรกฎาคม 25535.6.53 --- 7.6.53พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๘ ระบุเรื่องการให้ความยินยอมของผู้ป่วยในการรักษาทางการแพทย์มีเนื้อหาคือ แพทย์ที่ให้การรักษามีหน้าที่แจ้งข้อมูลที่เพียงพอ ในการตัดสินใจรับบริการด้านสาธารณสุขของผู้ป่วย (ผู้รับบริการ) หรือที่เรียกว่า หลักความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว (informed ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
374
มิถุนายน 2553
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗๑ วางหลักเกณฑ์การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (data protection) ที่เป็นข้อมูลประวัติสุขภาพไว้คือ ข้อมูลสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคล การเปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลไม่อาจทำได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล หรือมีกฎหมายกำหนดให้เปิดเผยข้อมูลได้ข้อมูลในเวชระเบียนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
373
พฤษภาคม 2553
ผมชอบเมืองสงขลาที่แฝงไว้ด้วยเสน่ห์ของธรรมชาติและความสงบมีทั้งทะเลและภูเขา ทะเลมี ๒ ทะเล คือ ทะเลอ่าวไทย กับทะเลสาบสงขลา ซึ่งมีเกาะยอ (อันมีชื่อเสียงด้านผ้าทอที่มีมาแต่โบราณ) ตั้งอยู่กลางทะเลสาบ เชื่อมกับฝั่ง ๒ ด้านด้วยสะพานอันยาวเหยียดในอดีต การเดินทางมาสงขลาส่วนใหญ่จะอยู่แต่ในนครหาดใหญ่ ซึ่งเป็นย่านธุรกิจและศูนย์การศึกษาอันทันสมัยและใหญ่โต ไม่ต่างจากกรุงเทพฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
373
พฤษภาคม 2553
เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา องค์ทูตสันถวไมตรี ในการต่อต้านความรุนแรงต่อผู้หญิง ของกองทุนการพัฒนา เพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติ (UNIFEM) เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือการดำเนินการยุติความรุนแรงในครอบครัว ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ โดยมี ๑๐ องค์กรภาครัฐร่วมลงนาม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
373
พฤษภาคม 2553
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล แถลงข่าว "ศิริราชปลูกถ่ายกระจกตาด้วยเลเซอร์สำเร็จ เป็นครั้งแรกของไทย" โดยมี ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เป็นประธาน ร่วมด้วย รศ.พญ.ภิญนิตา ตันธุวนิตย์ แพทย์ประจำสาขาวิชาโรคกระจกตาและผ่าตัดแก้ไขสายตาผิดปกติ รศ.นพ.สบง ศรีวรรณบูรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์รักษาสายตา SiLASIK (เอสไอเลสิก) อ.พญ.สุขศรี โชติกวณิชย์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
373
พฤษภาคม 2553
นกพิราบที่ผู้เขียนได้มาจากเพื่อนชื่อวิชัย มี ๒ ตัว ตัวหนึ่งสีเทาดำ เป็นตัวผู้ อีกตัวสีน้ำตาลอ่อน เป็นตัวเมีย ทั้ง ๒ ตัวมีลักษณะดีของนกพิราบสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นแววตา ที่เรียกอายไซน์ (eye sign) ก็ตรงตามตำราที่เราเสาะแสวงหามาดูกัน หรือส่วนสัดต่างๆ ก็ดูทะมัดทะแมง นกทั้ง ๒ ตัวขยันขันแข็งในการผสมพันธุ์อย่างยิ่ง เพียงชั่วเวลาไม่ช้าไม่นานที่ผู้เขียนนำมาเลี้ยง เจ้านกตัวเมียเริ่มวางไข่ ต่อมาฟักเป็นตัว ...