ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ความดันต่ำไม่ใช่โรค“คุณหมอคะ ดิฉันมีอาการเวียนศีรษะหน้ามืดบ่อยๆ ไม่ทราบว่าใช่เป็นโรคความดันต่ำหรือเปล่าคะ” หญิงสาววัย ๓o เศษเอ่ยขึ้น“ส่วนมากจะมีอาการตอนไหน หรือขณะทำอะไรครับ” หมอซัก“มักจะเป็นอยู่วูบเดียวตอนลุกขึ้นนั่งหรือลุกขึ้นยืน พอตั้งหลักได้สักครู่ก็หาย แล้วก็ทำอะไรได้ปกติทุกอย่าง”หลังจากซักถามอาการต่างๆ ตรวจร่างกาย พร้อมทั้งวัดความดันเลือดเสร็จ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 4)ตัวอย่างคนไข้รายที่ 3ชายไทยรูปร่างท้วม อายุ 40 กว่าปี หิ้วถุงเอกซเรย์และกระเป๋าเอกสารเข้ามาพบหมอชาย : “สวัสดีครับคุณหมอ ผมไม่ค่อยสบาย แต่ไม่ทราบว่าเป็นอะไรแน่ รักษามาหลายแห่งแล้ว อาการไม่ดีขึ้น จึงมาหาหมอ”หมอ : “สวัสดีครับ คุณเอาใบส่งตัวจากหมอคนเดิมมาด้วยหรือเปล่า”ชาย : “เปล่าครับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    กลุ่มอาการหายใจเกิน ข้อน่ารู้1. คนบางคนเมื่อมีเรื่องกระทบกระเทือนจิตใจ จะเกิดอาการหายใจหอบลึกและเร็วโดยอัตโนมัติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    20 ถาม – ตอบ เรื่อง...กาฬโรค1. ทำไมจึงชื่อกาฬโรค บางคนเรียกไข้ดำ หรือมฤตยูทมิฬ บ้างว่ามฤตยูดำชื่อกาฬโรค เป็นศัพท์ที่เมืองไทยใช้เฉพาะมานาน มาจากคำภาษาอังกฤษที่ว่าพล๊าก(plague) จากรายงานการบันทึก โรคนี้เริ่มระบาดครั้งแรกในคริสศตวรรษที่6 (ประมาณ พ.ศ. 1085) ที่ประเทศอียิปต์ ทวีปแอฟริกา หรือกาฬทวีป (แห่งลุ่มน้ำไนล์) จะได้ชื่อโรคตามทวีปหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 3)ฉบับที่แล้วผมค้างไว้เรื่องตัวอย่างรายการตรวจสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ พร้อมทั้งราคาโดยประมาณ เผื่อบางทีคนที่ชอบเป็นโรคหัวใจเห็นรายการตรวจแล้วอาจจะเลิกอยากเป็นโรคหัวใจก็ได้4. การถ่ายภาพรังสีของกล้ามเนื้อหัวใจหลังให้สารกัมมันตภาพรังสี (radionuclide cardiac imaging) : เช่น การฉีด thallium – 201 แล้วถ่ายภาพรังสีหัวใจเป็นระยะๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    ลายมือบอกโรคลายเส้นบนฝ่ามือของมนุษย์นั้น เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของมนุษย์มาโดยตลอดตั้งแต่อดีตกาลจวบจนปัจจุบันนี้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์คือเครื่องปั้นดินเผายุคสังคมบุพกาลที่ขุดพบที่หมู่บ้านป้านพอ มณฑลซีอาน ซึ่งมีอายุกว่า 6,000 ปีมาแล้ว เครื่องปั้นดินเผาเหล่านั้นมีรอยพิมพ์นิ้วมือปรากฏให้เห็น นับเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เกี่ยวข้องกับเส้นลายมือที่เก่าแก่ที่สุดของโลก นอกจากนี้เมื่อประมาณ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เกลื้อนข้อน่ารู้1. เกลื้อน (Tinea versicolor) เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยโรคหนึ่งในคนหนุ่มสาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มคนที่มีเหงื่อออกมาก เช่น ผู้ใช้แรงงาน (ชาวไร่ ชาวนา กรรมกร) พนักงานขับรถ นักกีฬา รวมทั้งผู้ที่ทำงานกลางแดดสาเหตุเกิดจากเชื้อรากลุ่มมาลาสซีเซียเฟอร์เฟอร์ ซึ่งเป็นเชื้อราที่มีอยู่ตามผิวหนัง(โดยเฉพาะที่หนังศีรษะ)เป็นปกติวิสัยอยู่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 2)ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 2หญิงไทยอายุ 45 ปี หน้าตามีแววกังวลและไม่สบาย เดินอย่างระโหยโรยแรงเข้ามาพบหมอหญิง : “อิชั้นมาขอตรวจโรคหัวใจค่ะ”หมอ : “ทำไมคุณรู้ว่าคุณเป็นโรคหัวใจครับ”หญิง : “อิชั้นไปตรวจมาหลายแห่งแล้วค่ะ ครั้งสุดท้ายที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง หมอบอกว่าเป็นโรคหัวใจค่ะ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย ”หมอ : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    ก้าวใหม่7 สมุนไพรไทยสมุนไพรกับมนุษยชาติ : คุณค่าอยู่คู่โลกสมุนไพรทรงคุณประโยชน์และมีค่าอยู่ในตัว ไม่ว่าจะถูกนำมาใช้หรือถูกละเลยทอดทิ้งตามสภาพธรรมชาติ(เป็นของคู่โลกคู่มนุษย์มาแต่โบราณ) การที่มนุษย์รู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เป็นยา หนึ่งในปัจจัยสี่ได้นั้นแสดงถึงความรอบรู้ในธรรมชาติของต้นไม้นานาชนิด ความรอบรู้นี้ได้พัฒนาขึ้นมาเป็นลำดับถึงขั้นเป็นศิลปวิทยาด้านสมุนไพร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    เจ็บหัวใจ(ตอนที่ 1)ปัจจุบันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (coronary atherosclerosis) ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บหัวใจ(angina pectoris) และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) ได้มีการพบบ่อยขึ้นและมากขึ้นในเมืองไทยการพบบ่อยหรือพบมากขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการมีโรคนี้(อุบัติการของโรคนี้)เพิ่มขึ้น เนื่องจากคนไทยเราดำรงชีวิตแบบคนฝรั่งมากขึ้น เช่น กินอาหารไขมันเพิ่มขึ้น อ้วนขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ...