อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    10 ใจเบิกบาน-งานเป็นสุข (ต่อ)2. ฉันทะวิริยะอย่างแรงกล้ายังให้เกิดสุขในตอนที่แล้วได้พูดถึงว่าหลักการของ "ใจเบิกบาน-งานเป็นสุข" คือการสัมผัสความทุกข์ยากของเพื่อนมนุษย์ จนเกิดหัวใจเพื่อเพื่อนมนุษย์ ซึ่งอาจเรียกว่า "การระเบิดของจิตสำนึก" จิตสำนึกที่จะทำเพื่อเพื่อนมนุษย์ตามปกติมนุษย์มีจิตสำนึกเล็กและแคบที่อยู่กับตัวเองหรือความเห็นแก่ตัว ความเห็นแก่ตัวนำไปสู่พฤติกรรมทางลบต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    ในบรรดากล้วยไม้ป่าที่มีกำเนิดในประเทศไทย หากนับเฉพาะที่มีชื่อเสียงรู้จักทั่วไปทั้งระดับประเทศและระดับโลก เพราะมีความงามเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว และมีคุณค่าด้านเป็นพ่อแม่พันธุ์พัฒนาเป็นกล้วยไม้สายพันธุ์ใหม่ๆ ต่อมาอีกมากมาย กล้วยไม้ป่าดั้งเดิมของไทยที่อยู่ในเกณฑ์ดังกล่าวจะต้องรวมกล้วยไม้ที่คนไทยเรียกว่า ฟ้ามุ่ย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    การเดินทางจากโรงแรม Natures' Village ที่เมืองตาลิไซ (Talisay) ไปยังพิพิธภัณฑ์ชุมชนชายทะเลสำหรับเด็กเมืองซาไกนั้น ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง เนื่องจากเส้นทางกำลังก่อสร้าง ผู้ร่วมทางชาวฟิลิปปินส์หลายคน บ่นว่าทำไมไปตั้งพิพิธภัณฑ์เสียห่างไกล แล้วใครจะไปดู น่าจะตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ จะได้มีเด็กไปดูมากๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    "เมื่อก่อนที่ยังไม่ได้ทำงานกับผู้ติดเชื้อ รู้จักแต่คำว่า precaution (ระวังไว้ก่อน) คอยย้ำเตือนเกี่ยวกับการติดต่อการแพร่กระจายของโรค คิดแต่ว่าต้องแยกผู้ป่วยไว้ต่างหาก แม้แต่ผู้ป่วยเด็กติดเชื้อยังรู้สึกว่าต้องดูแลเขาต่างจากเด็กทั่วไป หลังจากได้มาทำงานตรงจุดนี้ ได้เข้าใจเรื่องโรค แนวทางการรักษา และผลกระทบที่เกิดขึ้น ทำให้ความรู้สึกที่มีเปลี่ยนไป เด็กติดเชื้อมีวิถีชีวิตเหมือนเด็กปกติทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    "ช่วยกันอนุรักษ์พันธุ์ไม้นี้ ไว้และขยายพันธุ์เพิ่มเติมเพื่อไม่ให้สารภีเหลือแต่ชื่อเท่านั้น"Žระหว่างที่พยายามหาต้นหมันให้เจอนั้น ได้ไปพบต้นสารภีซึ่งเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดพะเยาแทน กำลังออกดอกอยู่ที่วัดสุวรรณดาราราม มีชาวอยุธยา2-3 คนอยู่ใต้ต้น และมีการวางแผนการเก็บดอกสารภีเป็นอย่างดี โดยวางตาข่ายอยู่ใต้ต้นซึ่งรองรับดอกสารภีสอบถามดูได้ความว่าเก็บไปเพื่อขาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    เด็กๆ อยากรู้อยากเห็น สนใจสิ่งต่างๆ ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง อยากจับต้องดู แกะดู มีส่วนร่วมประเทศไทยมีพิพิธภัณฑ์เด็กแห่งแรกคือ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2543 ตามพระราชปรารภของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงปรารถนาให้เด็กไทยได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างกว้างขวาง โดยริเริ่มขึ้นในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 360 เมษายน 2552
    เมษายนเป็นเดือนแห่งวันมหาสงกรานต์และการระลึกถึงผู้สูงอายุ ลูกหลานอยากเห็นพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย มีสุขภาพดีและมีความสุขผู้สูงอายุแล้วมีความสุขก็เป็นบุญ แต่ผู้สูงอายุบางคนก็มีความทุกข์อย่างน่าสลดสังเวชสังขารมีความเสื่อมลง แต่จิตใจควรจะเจริญขึ้นเพราะล่วงกาลผ่านวัยมามาก แต่สมองคนก็คล้ายคอมพิวเตอร์ สุดแต่โปรแกรมอย่างไรไว้ก็เป็นไปตามนั้น สภาพอย่างเดียวกัน คนที่มองในแง่ดีก็เห็นความดีงาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 360 เมษายน 2552
    บรรดากล้วยไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในเขตป่าของประเทศไทยนั้น ดูเหมือน "ช้าง" จะเป็นชื่อที่ชาวไทย รู้จักคุ้นเคยมากที่สุด จนอาจกล่าวได้ว่าสถานะของช้างที่เป็นกล้วยไม้ กับช้างที่เป็นสัตว์ป่ามีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ช้างนับเป็นราชาในหมู่สัตว์ป่าไทย เช่นเดียวกับ "ช้าง" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    ในชีวิตจะต้องฝ่าความเสียดทานด้วยประการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในอาชีพการงาน การศึกษา ครอบครัว ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความพิการ ความกลัว ความเกลียด ความผิดหวัง ต่างๆ นานา เหล่านี้ จนกระทั่งสรุปว่าชีวิตหนีความทุกข์ไปไม่ได้ ถ้าหนีทุกข์ไม่ได้ก็ต้องเผชิญกับทุกข์ และหาทางเอาชนะทุกข์ให้ได้กำพล ทองบุญนุ่ม ซึ่งเรื่องราวของเขาอยู่ใน "ชีวิต-งาน-ทรรศนะ" ของหมอชาวบ้าน ฉบับนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    "ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี" แปลว่า "ธรรมย่อมรักษา ผู้ประพฤติธรรม" เป็นพุทธพจน์ อยู่ในพระไตรปิฎก 84,000 ...