อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 374 มิถุนายน 2553
    สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ได้มอบรางวัลการดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (Humanized Healthcare Award) ในระดับโรงพยาบาล ๖ แห่ง และระดับหน่วยงานในโรงพยาบาล ๒ แห่ง เพื่อเชิดชูเกียรติและประกาศคุณงามความดี ที่ดูแลคนไข้และประชาชนด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ ในงานประชุม HA National Forum ครั้งที่ ๑๑ ระหว่างวันที่ ๙-๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ณ ศูนย์การประชุม Impact ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 พฤษภาคม 2553
    เมื่อโยคะวิชาการเข้าไปประกาศตัวในระบบการศึกษา จะส่งผลอย่างไรต่อนิสิตนักศึกษาที่เป็นผู้เรียนโดยตรงจ๊ะเอ๋-วริษฐา ขอประเสริฐ และ กุ่ย-ปิยะชัย ฮึงวัฒนา นิสิตคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี ๓ แม้จะไม่ใช่วิชาในคณะตนเองโดยตรง แต่มีความสนใจเรียนวิชาโยคะเป็นความรู้และอยากลอง(กุ่ย)ตอนแรกถามอาจารย์ว่าเรียนอะไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 372 เมษายน 2553
    ตอนนี้ให้ชื่อว่า "ฮ็อบบี้" ที่มาจากภาษาฝรั่ง Hobby ไม่ใช่ "ฮ็อบบิต" นะครับ"ฮ็อบบิต" เป็นชื่อชนเผ่าแคระในเรื่อง "Lord of the ring"ฮ็อบบี้ คืองานอดิเรกพ่อกับแม่ผู้เขียนชอบให้ลูกมีงานอดิเรก ตอนเล็กๆ งานอดิเรกของพวกเราคือสะสมแสตมป์ จะว่าเป็นการริเริ่มของพ่อกับแม่ก็ไม่ใช่ เราได้มาจากเพื่อนๆ ที่โรงเรียนต่างหาก แต่พ่อกับแม่ก็คอยสนับสนุนส่งเสริม วิธีคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    ชีวิตเป็นสิ่งที่มีสีสัน สดชื่น เบิกบาน เบาสบาย สั่นไหว เลื่อนไหล... แล้วเราได้ก้าวเข้าไปในมิติดังกล่าวแล้วหรือยัง? หรือว่าเรายังซังกะตายใช้ชีวิตให้หมดไปวันๆ ชีวิตของเรายังคงหนักอึ้ง ยากที่จะเข้าใจ เป็นอะไรที่ควบคุมไม่ได้ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย มีความไม่สบายกายไม่สบายใจเกิดขึ้นตลอดเวลา ในหัวเต็มไปด้วยความคิดที่สับสน ขัดแย้ง และบางครั้งก็เกิดเป็นอารมณ์ความรู้สึกที่รุนแรง บางครั้งก็หดหู่ เหี่ยวแห้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    การดูแลรักษาคนไข้จิตเวช มีความยุ่งยากซับซ้อนแตกต่างไปจากคนไข้ทางกาย ผู้รักษาพยาบาลต้องใช้มิติทางด้านจิตใจสูง จึงจะสามารถเยียวยาคนไข้ได้ดี นอกจากนั้นแพทย์และพยาบาลยังต้องมีใจไว้เยียวยาตัวเองด้วยผมมีโอกาสไปเยี่ยมให้คำปรึกษาเรื่องการพัฒนาคุณภาพสถาบันจิตเวชแห่งหนึ่ง ได้เรียนรู้การปฏิบัติงาน ปรัชญาแนวคิดของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งวิถีชีวิตของคนไข้ เป็นประสบการณ์ที่น่าประทับใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมวัตถุไปต่อไม่ได้แล้วโดยไม่เกิดวิกฤติ ไม่มีทางอื่นที่มนุษย์จะรอดจากวิกฤตินอกจากปฏิวัติจิตสำนึกศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ปาฐกถาพิเศษเรื่อง "ระบบการศึกษาที่แก้ความทุกข์ยากของคนทั้งแผ่นดิน" ในงานประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษา ครั้งที่2 เรื่อง "จิตตปัญญา : ทางเลือก หรือทางรอดของสังคม?" จัดโดย ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    บางคนเมื่อมีเรื่องขัดใจ หรือมีอารมณ์เครียด ก็เกิดอาการหายใจหอบลึก และมือเท้า 2 ข้างจีบเกร็งคล้ายเป็นตะคริว อาจมีอาการแน่นิ่งไม่พูดไม่จา หรือเอะอะโวยวาย คล้ายเสียสติ สร้างความตกใจให้ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูงที่พบเห็น บางชุมชนเข้าใจว่าเป็น "โรคผีเข้า" พาไปทำพิธีไล่ผีตามความเชื่อของท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งมักจะหายได้เช่นเดียวกับพาไปรักษาที่โรงพยาบาลอาการดังกล่าวแพทย์เรียกว่า "กลุ่มอาการระบายลมหายใจเกิน" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ทำไป พักไป ฟังเพลงบ้าง หัวเราะบ้าง และอย่าลืม...ยิ้มในหน้า 'ยิ้มในหน้า' คำที่ปู่พีระ หรือคุณพีระ บุญจริง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    คนเราเมื่ออยู่ในภาวะคับขัน ย่อมต้องการใครสักคน หรือสิ่งยึดเหนี่ยวเพื่อเป็นที่พึ่ง คนเจ็บไข้ได้ป่วยที่ต้องมาโรงพยาบาลก็เช่นเดียวกัน ย่อมต้องการที่พึ่งทั้งคน บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา เป็นเรื่องที่โรงพยาบาลที่พัฒนาคุณภาพให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะมีผลต่อความปลอดภัยของคนไข้ ประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 มกราคม 2553
    ยิ้มสยาม สยามเมืองยิ้มเมืองไทย ได้ชื่อว่าเป็นสยามเมืองยิ้มมาเป็นระยะเวลานาน ทว่าในยุคปัจจุบัน รอยยิ้มที่ฉายประกายแห่งความสุข ดูแล้วสบายตา สบายใจ แววตาแห่งการต้อนรับที่อบอวลด้วยความอบอุ่นนั้นดูเลือนรางและลดลงทุกวัน เริ่มเป็นยิ้มแบบฝืดๆ ฝืนๆ เฝื่อนๆ เยาะๆ เย้ยๆ ซ่อนประโยชน์ ซ่อนอารมณ์ ซ่อนเงื่อนกันไป ผู้คนเริ่มมีใบหน้าที่เคร่งขรึม เคร่งเครียด จริงจังมากขึ้น จนอาจลืมไปเลยว่า ...